Page 177 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 177

171



               บทน า


                       เทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ตมีความจ าเป็นอย่างยิ่งต่อการบริหารจัดการทรัพยาการ
               สารสนเทศ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้ แต่บุคคลากรมีความหลากหลายทางความคิด ความรู้
               และความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศที่แตกต่างกัน ดังนั้นการจัดการความรู้จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่เป็น
               เครื่องมือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคลที่ท างานเกี่ยวข้องกัน การจัดการความรู้เริ่มต้นที่งาน คือการ

               ก าหนดเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับสูง โดยกลุ่มผู้ร่วมงานเป็นผู้ก าหนดด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ท า
               ให้ทุกคนเกิดความมุ่งมั่นร่วมกันเพื่อบรรลุสู่ความส าเร็จนั้น โดยร่วมกันสร้าง เสาะหา และยกระดับความรู้
               ส าหรับน าไปใช้ปรับปรุงงานในกระบวนการท างาน ร่วมกันตีความจากประสบการณ์ท างาน กลั่นกรองและตก

               ผลึกออกมาเป็นความรู้ส าหรับน ามาประยุกต์ในการท างานวนเวียนเป็นวัฎจักรไม่จบสิ้น เป้าหมายและ
               ประโยชน์ของการจัดการความรู้มีอยู่ 3  ประการ คือ เพื่อพัฒนางาน พัฒนาคน และพัฒนาฐานความรู้
               (กิตติญาภรณ์ ซุยลา, 2550)

                       การจัดการความรู้เป็นการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในหน่วยงานซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล
               หรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้

               รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด ตลอดจน
               ช่วยลดขั้นตอนระยะเวลาในการปฏิบัติงาน (ส านักงาน ก.พ.ร.และ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2548) เมื่อมี
               การแลกเปลี่ยนความรู้มากขึ้น ก็สามารถสร้างความรู้ใหม่มากยิ่งขึ้น เมื่อน าความรู้เก่ามาบูรณาการกับความรู้
               ใหม่ ก็ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ๆ เพิ่มขึ้นอีก และสามารถน าความรู้มาใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น จนกลายเป็นวงจร

               การเรียนรู้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ดังนั้นการจัดการความรู้จึงเป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจในวงกว้างขวาง ทั้ง
               หน่วยงานภาคเอกชนและภาครัฐ ได้มีการตื่นตัวในการจัดการความรู้ให้มีการถ่ายทอดเพื่อเก็บรักษาองค์ความรู้
               ไม่ให้สูญหาย เป็นแนวคิดทั้งศาสตร์และศิลป์เชิงระบบที่เกี่ยวข้องกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด

               การกระท า ตลอดจนประสบการณ์ของบุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม และจัดเก็บในแหล่งข้อมูลที่
               บุคคลสามารถเข้าถึงได้โดยอาศัยช่องทางต่างๆ ที่องค์กรจัดเตรียมไว้เพื่อน าความรู้เหล่านั้นน าไปประยุกต์ใช้ใน
               การปฏิบัติงาน ซึ่งก่อให้เกิดการแบ่งปัน และการถ่ายโอนความรู้ จนในที่สุดความรู้ที่กระจัดกระจายได้รับการ
               เผยแพร่ทั่วองค์กรอย่างสมดุล เพื่อเพิ่มความสามารถในการเพิ่มผลผลิตให้กับองค์กร (กิตติญาภรณ์ ซุยลา,
               2550) ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลหรือกลุ่มคน ถ้าไม่มีการจัดการความรู้เมื่อบุคคลที่มีความรู้ได้ออกจากองค์กรไป

               ความรู้และความเชี่ยวชาญต่างๆ ก็ต้องหมดหรือหายไปพร้อมกับบุคคลนั้นด้วย ท าให้ส่งผลกระทบต่อองค์กร
               เป็นอย่างมาก จึงจ าเป็นต้องมีกระบวนการเปลี่ยนความรู้จากตัวบุคคลให้กลายเป็นความรู้ขององค์กร ที่
               สามารถถ่ายทอดให้กับบุคคลอื่นในองค์กรได้ เพื่อให้องค์กรสามารถด ารงอยู่ได้โดยไม่ขึ้นอยู่กับบุคคล (จรีรัตน์

               สุวรรณ์, 2553)
                       ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (มทร.อีสาน) ได้

               เล็งเห็นถึงความส าคัญของการบริหารการจัดการความรู้ในการปฏิบัติงาน จึงมีการด าเนินการด้านการจัดการ
               ความรู้ในองค์กรมาใช้ ประกอบกับมหาวิทยาลัยได้ให้ความส าคัญและผลักดันให้มีการจัดการความรู้ในองค์กร
               อย่างต่อเนื่อง โดยส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ด าเนินแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ มี

               การด าเนินการตั้งชุมชนนักปฏิบัติ ซึ่งชุมชนคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศได้ด าเนินการรวบรวม สร้าง
               จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจากข้อมูลไปสู่สารสนเทศร่วมกัน
               เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ และสามารถน าไปประยุกค์ให้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากการระดมความคิดของกลุ่ม
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182