Page 36 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 36
30
กิจกรรม การแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพร
หน่วยงานด าเนินการ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ มทร.อีสาน
- รายละเอียดกิจกรรม ให้ความรู้และการสนับสนุนอุปกรณ์การแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพร เช่นถังอบ
สมุนไพร เครื่องหั่นสมุนไพร
กิจกรรม การจัดตั้งสหกรณ์ผลิตและแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพร
หน่วยงานด าเนินการ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ มทร.อีสาน
- รายละเอียดกิจกรรม จัดตั้งกองทุนหมุนเวียนเพื่อการจัดซื้อวัตถุดิบสมุนไพร ซึ่งได้จดทะเบียนสหกรณ์
สมุนไพรสกลนคร จ ากัด เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559
ผลและอภิปรายผลการด าเนินงาน
การด าเนินโครงการนี้ได้ผลเป็นที่น่าพอใจและมีเสียงตอบรับการเข้าร่วมอย่างต่อเนื่อง ได้มีจากการเปิด
บริษัทประชารัฐ การให้ความร่วมมือสนับสนุนของจังหวัดสกลนคร ในการเป็นเมืองสมุนไพรต้นแบบของประเทศ
ร่วมกับภาคีเครือข่าย ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนคร ได้ให้สนับสนุน
งบประมาณในการด าเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม เกษตรจังหวัดสกลนคร ให้ความร่วมมือด้านการให้ความรู้เกี่ยวกับ
การเพาะปลูกสมุนไพร ส านักงานพาณิชย์จังหวัดสกลนคร และสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ให้การสนับสนุนด้านการ
จดทะเบียนสหกรณ์ และการจัดซื้อจ าหน่ายของสมุนไพรในอนาคต และหน่วยงานอื่น ๆ อีกมากมาย การ
ก าหนดการจัดโครงการ จึงท าให้การประสานงานของแต่ละหน่วยงานภาคี ไม่มีข้อบกพร่องและเป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน ในกิจกรรมที่ก าหนด
ท าให้มีแนวทางในการน าผลการด าเนินงานและผลลัพธ์ที่ได้นั้น สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นแนว
ทางการพัฒนาประเทศ ที่เกิดจากการบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วม เพื่อเป็นการสร้างชุมชนที่เข้มแข็งต่อไป
สรุป
สกลนคร เป็นจังหวัดต้นแบบด้านการแพทย์แผนไทยของประเทศ การสนับสนุนการดูแลสุขภาพของ
ชุมชนแบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน เป็นกิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก สสส. ผ่านแผนงานพัฒนาภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชน โดยมูลนิธิสุขภาพไทย เริ่มเมื่อปี 2550 โดยการน าคณะ
หมอพื้นบ้านสกลนครจ านวน 18 คน และผู้เรียนรู้ จ านวนมากว่า 30 คน ออกคาราวานหมอพื้นบ้านสัญจร โดย
ให้บริการดูแลรักษาสุขภาพผู้ป่วยในเขต อ.กุสุมาลย์ จ.สกลนครทุกเดือนเป็นเวลานาน 1 ปี พบมีผู้ป่วยมารับ
บริการจ านวนมากกว่า 150 ราย/ครั้ง และ เริ่มน านักศึกษาจากสาขาวิชาการแพทย์แผนไทยเข้าร่วมกิจกรรมศึกษา
เรียนรู้ไปพร้อมกัน ได้มีการสัญจรออกให้บริการในพื้นที่ของอ าเภออื่นๆทั่วจังหวัดสกลนคร ในปี 2552 มีผู้ป่วยมา
รับบริการเกือบ 5,000 ราย ท าให้หมอพื้นบ้านได้เกิดความรู้ ทักษะ และประสบการณ์จากการให้บริการตรวจ
รักษาโรคแก่ผู้ป่วยจ านวนมาก ทั้งจากหมอพื้นบ้าน ผู้เรียน และนักศึกษา เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยในพื้นที่ได้รับการ
รักษา สร้างประสบการณ์หมอพื้นบ้าน และเกิดการพัฒนาเครือข่ายหมอพื้นบ้านในพื้นที่อื่นจนเป็นที่รู้จัก เกิดการ
ยอมรับและความสนใจจากหน่วยงานราชการอื่นๆ เช่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร และ เทศบาลต่างๆ
จากคนทั่วไปทั้งจังหวัดสกลนคร ดังนั้น การจัดกิจกรรมคาราวานหมอพื้นบ้านในปี 2553 จึงได้รับการสนับสนุน
งบประมาณบางส่วนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่จ านวนครั้งในการจัดกิจกรรมน้อยลง ท าให้ผู้ป่วยไปรับ
การรักษาที่บ้านของหมอพื้นบ้านมากขึ้น ดังนั้นจึงต้องหันพัฒนาบ้านหมอให้พร้อมส าหรับการบริการผู้ป่วย และมี