Page 366 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 366

360


               ผลกระทบที่เป็นประโยชน์หรือสร้างคุณค่า
                         1. การรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับบริบทและศักยภาพการพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นตาม

               ความคิดเห็นของชุมชนกลุ่มภาคกลาง
                         2. ได้รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนตามแนวคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
                         3. สร้างขีดความสามารถด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ชุมชน เพื่อเพิ่ม
               ความหลากหลายและสร้างผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงและใช้วัตถุดิบภายในท้องถิ่นโดยการบูรณาการความร่วมมือ

               ระหว่างองค์กรภาครัฐและชุมชน












                                                 ภาพที่ 4  การแปรรูปปลาทู


               ปัจจัยแห่งความส าเร็จ

                       การวิจัยแบบมีส่วนร่วมของทีมนักวิจัย  คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
               กับศูนย์วิจัย ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส)  ซึ่งเป็นการท างานแบบบูรณาการเพื่อ

               ประโยชน์สูงสุดของชุมชน เน้นความพอเพียงที่ยั่งยืน ซึ่งจากการท างาน พบว่า ปัจจัยแห่งความส าเร็จเกิดจาก
               การได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งภายในชุมชนและภายนอกชุมชน ชาวบ้านและทีมนักวิจัยเกิดความรู้ และปัญญา
               (Knowledge)  ซึ่งเป็นช่องทางที่จะน าความรู้ไปใช้ในการพัฒนาชุมชน เมื่อกลุ่มพี่เลี้ยงจากภายนอกถอนตัว
               ออกมา ชาวบ้านก็สามารถด ารงอยู่ตามวิถีใหม่ ซึ่งเป็นวิถีแห่งการเรียนรู้และพัฒนาสู่ นอกจากนี้ การท าแผน

               ชุมชนเป็นเครื่องมือให้ชาวบ้านได้เรียนรู้ เป็นเข็มทิศน าทางสู่การพัฒนาชุมชนของตัวเอง อีกทั้งชุมชนมีแหล่ง
               เรียนรู้ในระดับชุมชน มีการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ได้รับ  โดยที่ชุมชนกลุ่มภาคกลางได้มีแผนการจัดตั้งศูนย์
               เรียนรู้ชุมชนเพื่อการรักษาองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นในชุมชน เกิดการแลกเปลี่ยนทั้งภายในชุมชนและภายนอก
               ชุมชน เกิดการบูรณาการท างานร่วมกัน จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตลอดจนสถาบันการศึกษา และ

               สุดท้ายปัจจัยแห่งความส าเร็จ คือ การที่ช่วยสร้างกระแสและส่งเสริมให้ชุมชนได้ตระหนักรู้ถึงปัญหาของตัวเอง
               และน ามาวิเคราะห์ปัจจัยสู่ความส าเร็จถึงการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข อยู่อย่างพอเพียงตามพระราชด าริ
               เศรษฐกิจพอเพียง ได้เรียนรู้ระเบียบวิธีวิจัยแบบมีส่วนร่วม เรียกว่า การจัดการความรู้ หรือ Knowledge

               Management

                       ปัญหาและอุปสรรค
                       จากการศึกษารูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนกลุ่มภาคกลางตามแนวพระราชด าริเศรษฐกิจ
               พอเพียง   ไม่พบปัญหาและอุปสรรคในระหว่างกระบวนการท างาน หากแต่เป็นปัญหาที่ทางทีมนักวิจัยไม่

               สามารถช่วยให้ชุมชนเดินหน้าต่อไปในประเด็น 1.) ด้านการตลาด เพราะการตลาดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
               ภาคกลางยังเป็นตลาดภายในชุมชนเป็นไปในลักษณะการอุดหนุนซึ่งกันและกัน โดยอาศัยการจ าหน่ายบริเวณ
               ตลาดทั่วไป การต่อยอดจ าหน่ายไปยังตลาดภายนอกชุมชนยังมีน้อย  ท าให้ภาพความส าเร็จของการจ าหน่ายมี
   361   362   363   364   365   366   367   368   369   370   371