Page 401 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 401

395


               graduates  and  effectiveness  building  confidence  and  reliability  to  the  faculty  and
               universities, so as to standard according for self-assessment (SAR) of disciplines indicator 4.2

               to quality instructor. Faculty and university of indicator the 1.3 instructor regular academic
               positions further.

               Key words : Mentor system enhances the academic performance, Academic positions,

                            Publication academic performance

               บทน า
                       ระบบพี่เลี้ยงในการท าผลงานทางวิชาการเพื่อการขอก าหนดต าแหน่งทางวิชาการและ การตีพิมพ์

               เผยแพร่ เป็นระบบที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างคณาจารย์ที่มีต าแหน่งทางวิชาการแล้ว กับคณาจารย์ที่ยังไม่
               มีต าแหน่งทางวิชาการ ซึ่งคณาจารย์ของคณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรนั้นเป็นก าลังหลัก
               ส่วนหนึ่งที่ส าคัญในการขับเคลื่อนภาระงานทั้ง 5 ด้าน ของคณะฯ อันได้แก่ ด้านการเรียนการสอน ด้านวิจัย
               ด้านบริการวิชาการ ด้านบ ารุงศิลปวัฒนธรรม และด้านการพัฒนานักศึกษา ให้บรรลุผลส าเร็จตามภารกิจของ

               คณะฯ ตอบสนองภารกิจและนโยบายของมหาวิทยาลัย แต่คณาจารย์ของคณะฯ ดังกล่าวมีทั้งผู้ที่ได้ต าแหน่ง
               ทางวิชาการแล้วและผู้ที่ยังไม่ได้ต าแหน่งทางวิชาการ ซึ่งคณาจารย์ที่ยังไม่ได้ต าแหน่งทางวิชาการจะต้องคิด
               วางแผนเพื่อพัฒนาตนเองเพื่อจัดท าผลงานทางวิชาการเพื่อความก้าวหน้าในอาชีพการรับราชการ และสร้าง

               ความเชื่อมั่น เชื่อถือให้กับคณะฯ และมหาวิทยาลัยต่อไป
                       ดังนั้นระบบพี่เลี้ยงในการท าผลงานทางวิชาการเพื่อการขอก าหนดต าแหน่งทางวิชาการและการ

               ตีพิมพ์เผยแพร่ จึงเป็นส่วนหนึ่งที่ตอบสนอง และช่วยเหลือคณาจารย์ที่ยังไม่ได้ต าแหน่งทางวิชาการให้มีโอกาส
               ที่ดีโดยเข้าร่วมโครงการซึ่งจะท าให้มีโอกาสในการสร้างความส าเร็จในการขอก าหนดต าแหน่งทางวิชาการต่อไป

               วิธีการด าเนินงาน

                       ระบบพี่เลี้ยงในการท าผลงานทางวิชาการเพื่อการขอก าหนดต าแหน่งทางวิชาการและการตีพิมพ์
               เผยแพร่ เป็นกลไกหนึ่งที่มีกระบวนการด าเนินการส่งเสริม สนับสนุน และติดตามที่เป็นรูปธรรมที่เอื้อต่อ

               ความส าเร็จในการจัดท าผลงานวิชาการ ภายใต้ความเสียสละ และเจตนารมณ์ ที่หวังดี ห่วงใย และใส่ใจของ
               คณาจารย์ที่ท าหน้าที่พี่เลี้ยงที่มีต่อผู้ท าผลงานวิชาการ มีคณะกรรมการบริหารระบบ และมีคณาจารย์ที่มี
               ต าแหน่งทางวิชาการมาท าหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง โดยมีฐานข้อมูลของบุคลากรที่เป็นพี่เลี้ยง และคณาจารย์ผู้ที่จะท า
               ผลงานทางวิชาการ คณาจารย์ที่จะเข้าสู่ระบบพี่เลี้ยงต้องมีความตั้งใจ และมั่นใจในระบบพี่เลี้ยง รวมทั้งต้อง

               ปฏิบัติตามเงื่อนไขของระบบซึ่งจะต้องด าเนินการจัดท าแผนปฏิบัติการท าผลงานทางวิชาการ ซึ่งถือเป็น
               แนวทางหนึ่งของระบบพี่เลี้ยง  การท าผลงานทางวิชาการ เพื่อให้คณาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการจัดท า และ
               ก าหนดระยะเวลาของการปฏิบัติได้เหมาะสมซึ่งอาจแบ่งออกเป็นระยะๆ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการส่งเสริม

               สนับสนุน และติดตามผลของระบบพี่เลี้ยงการท าผลงานทางวิชาการต่อไป ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
   396   397   398   399   400   401   402   403   404   405   406