Page 166 - 5-13higherposition
P. 166
บทที่ 5
ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการพัฒนางาน
การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเสนอขอก าหนดต าแหน่งสูงขึ้น ต าแหน่งประเภทผู้บริหาร ต าแหน่ง
ประเภททั่วไป ต าแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ส าหรับข้าราชการพลเรือนในสถาบัน
ุ
อดมศึกษาและพนักงานมหาวิทยาลัย ผู้ปฏิบัติงานต้องด าเนินการตามหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด
ื่
เพอให้การด าเนินการแต่งตั้งบุคคลให้ด ารงต าแหน่งสูงขึ้นเป็นไปด้วยความถูกต้อง เป็นมาตรฐานและโปร่งใส
เป็นธรรม จึงขอสรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางการพัฒนางานการก าหนดต าแหน่งสูงขึ้น ดังนี้
ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน
1. หลักเกณฑ์และวิธีการก าหนดต าแหน่งสูงขึ้น ต าแหน่งประเภทผู้บริหาร ต าแหน่งประเภท
ทั่วไป ต าแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ก.พ.อ. ก าหนดไว้เฉพาะข้าราชการพลเรือน
ในสถาบันอดมศึกษา ส าหรับพนักงานมหาวิทยาลัยให้สภาสถาบันอดมศึกษาแต่ละแห่งก าหนดหลักเกณฑ์และ
ุ
ุ
วิธีการก าหนดต าแหน่งสูงขึ้น จึงอาจเกิดความเหลื่อมล้ าในการด ารงต าแหน่งสูงขึ้นของบุคลากร 2 ประเภท
และการก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการที่ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เช่น การก าหนดประเภทของผลงาน จ านวน
ชิ้นของผลงาน วิธีการและขั้นตอนการปฏิบัติงาน เป็นต้น
2. การออกกฎหมาย ข้อบังคับ ประกาศ ในการก าหนดต าแหน่งสูงขึ้นในมหาวิทยาลัยมีการ
ั
เปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ในการขอก าหนดต าแหน่งสูงขึ้นค่อนข้างบ่อย ท าให้ผู้ปฏิบัติต้องศึกษาและพฒนา
ื่
ตนเองตลอดเวลา เพอให้การแต่งตั้งบุคคลให้ด ารงต าแหน่งสูงขึ้นในแต่ละประเภทถูกต้องตามหลักเกณฑ์
ขั้นตอนและวิธีการท างาน
3. ในการปฏิบัติงานต้องใช้ความรู้ ความสามารถ และความละเอยดรอบคอบเป็นอย่างมาก
ี
เนื่องจากการขอก าหนดต าแหน่งสูงขึ้นมีความหลากหลายของต าแหน่ง และประเภทของบุคลากร รวมถึง
ขั้นตอนและวิธีการท างานที่แตกต่างกัน
4. บัญชีรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิที่ ก.พ.อ. ก าหนด ที่แสดงความเชี่ยวชาญในแต่ละด้านหรือ
ในแต่ละต าแหน่ง มีจ านวนไม่มาก และแหล่งข้อมูลในการสืบค้นบัญชีรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญ
ี
ในด้านต่าง ๆ ไม่ครบถ้วน ท าให้การปฏิบัติงานด้านการก าหนดต าแหน่งสูงขึ้นเกิดความล่าช้า เช่น รายละเอยด
ของต าแหน่ง ผลงานเชิงวิชาการที่เคยท า คุณวุฒิ ความเชี่ยวชาญ สังกัด สถานที่และเบอร์ติดต่อ
ื่
ุ
5. สถาบันอดมศึกษาหลายแห่งอยู่ในช่วงที่บุคลากรสายสนับสนุนมีคุณสมบัติเพอขอก าหนด
ต าแหน่งสูงขึ้นจ านวนมาก จึงท าให้ผู้ทรงคุณวุฒิเพอท าหน้าที่ประเมินผลงานและจริยธรรมและจรรยาบรรณ
ื่
ทางวิชาชีพที่มีความเชี่ยวชาญบางต าแหน่งมีจ านวนผลงานที่ต้องพจารณาเป็นจ านวนมากส่งผลให้การควบคุม
ิ
ระยะเวลาในการพิจารณาผลงานของมหาวิทยาลัยไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่ก าหนด
้
6. ผู้ปฏิบัติยังขาดความชัดเจนเกี่ยวกับแนวปฏิบัติตามขอบังคับและประกาศของมหาวิทยาลัย
เช่น ประเภทของผลงาน จ านวนของผลงาน ขั้นตอนการประกาศผลการคัดเลือกบุคลากร เป็นต้น
7. ผู้เสนอขอก าหนดต าแหน่งสูงขึ้นขาดความเข้าใจในการจัดท าแบบขอรับการประเมินเพอ
ื่
แต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งสูงขึ้น (แบบ ก.บ.ม.) ส่งผลกระทบให้การยื่นเอกสารสมัครเข้ารับการประเมินในรอบที่
มหาวิทยาลัยประกาศรับสมัครไม่ทันตามระยะเวลาที่ก าหนด