Page 48 - 5-7meeting
P. 48
๔๑
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งก่อน หากไมมีเรื่องสืบเนื่องก็ใหจดว่า “ไมมี
เรื่อง สืบเนื่อง” แต่ถ้ามีเรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งก่อน จะต้องระบุว่าเรื่องนั้นๆ มาจากระเบียบ
วาระที่เท่าใด หนาไหนหรือข้อที่เท่าไร บรรทัดใด เรื่องอะไร ไดด าเนินการไปอย่างไรที่ประชุมมีมติหรือ
ข้อสรุปว่าอย่างไร
ี
ื่
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องที่เสนอใหที่ประชุมทราบ มีเรื่องที่จะเสนอเพอทราบมากน้อยเพยงใด
ให้รวบรวม ไวในระเบียบวาระนี้ระเบียบวาระนี้มักจะจบเร็ว การจดควรจดเนื้อหา ดังนี้เรื่องอะไร
้
(แสดงเป็นข้อ ๆ ) สรุปประเด็นที่กะทัดรัดอย่างไร ที่ประชุมมีมติหรือขอสรุปว่าอย่างไร
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องที่เสนอใหที่ประชุมพจารณา เรื่องเสนอเพอพจารณาอาจมีหลายเรื่อง
ิ
ื่
ิ
ใหรวบรวม ไวในระเบียบวาระนี้ควรจดเนื้อหาดังนี้
- ใครเสนอเรื่องอะไร
- สรุปประเด็นที่กะทัดรัดอย่างไร
- ผลการพิจารณาเป็นประการใด
- ที่ประชุมมีมติหรือข้อสรุปว่าอย่างไร ถ้ามีมากกว่า 1 เรื่องควรจดเป็นข้อ ๆ
ระเบียบวาระท 6 เรื่องอื่นๆ (ถ้าม) เป็นเรื่องที่นอกเหนือจากระเบียบวาระที่ 1-5 ซึ่งเป็นเรื่อง
ี่
ี
ที่เป็นประโยชนต่อที่ประชุมก็สามารน ามาแจ้งให้ที่ประชุมทราบหรือร่วมกันพิจารณาไดควรจดเนื้อหา ดังนี้
- ใครเสนอเรื่องอะไร
- สรุปประเด็นที่กะทัดรัดว่าอย่างไร
- ที่ประชุมมีมติหรือข้อสรุปว่าอย่างไร
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดท ารายงานการประชุม (คู่มือการปฏิบัติงานด้านสารบรรณ ๒๕๖๐ :
๑๓๓-๑๓๕ จากเว็บไซต์ http://bpcd.vec.go.th) กล่าวไว้โดยสรุปดังนี้
๑. ผู้ตรวจรายงานการประชุม ควรเป็นเลขานุการการประชุมหรือผู้เข้าประชุมในครั้งนั้น
ิ
ที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสม หากพจารณาเห็นว่ายังไม่แน่ใจผลการตรวจ ควรน าเสนอประธาน
ื่
การประชุม เพอตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมอกครั้งหนึ่ง ผู้ตรวจรายงานการประชุมควรมีหลัก
ี
ยึดถือปฏิบัติ ดังนี้
๑) มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจดรายงานการประชุมตามระเบียบว่าด้วย
งานสารบรรณ และคาอธิบายประกอบระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
เป็นอย่างดี
๒) มีความละเอียดรอบคอบ
๓) มีความรู้เรื่องการใช้ภาษาอย่างถูกต้องเหมาะสม รวมทั้งในเรื่องการเขียนย่อหน้า
วรรคตอน การใช้เลขข้อใหญ่ ข้อย่อย
๔) รู้จักย่อความและเข้าใจเป้าหมายหรือประเด็นของการประชุมแต่ละระเบียบวาระ