Page 53 - 5-7meeting
P. 53

๔๖






                             องค์ประกอบของการประสานงาน

                              1. ความร่วมมือ จะต้องสร้างสัมพันธภาพในการท างานร่วมกันของทุกฝ่าย โดยอาศัยความเข้าใจ
                      หรือการตกลงร่วมกัน มีการรวบรวมก าลังความคิด วิธีการ เทคนิค และระดมทรัพยากรมาสนับสนุนงาน

                                               ั
                      ร่วมกัน เพื่อให้เกิดความเป็นอนหนึ่งอันเดียวกัน เต็มใจที่จะท างานร่วมกัน
                             2. จังหวะเวลา จะต้องปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของแต่ละคน

                      ตามก าหนดเวลาที่ตกลงกันให้ตรงเวลา

                              3. ความสอดคล้อง จะต้องพิจารณาความพอเหมาะพอดี ไม่ท างานซ้อนกัน
                              4. ระบบการสื่อสาร จะต้องมีการสื่อสารที่เข้าใจตรงกันอย่างรวดเร็ว และราบรื่น

                                                                                     ื่
                             5. ผู้ประสานงาน จะต้องสามารถดึงทุกฝ่ายเข้าร่วมท างาน เพอตรงไปสู่จุดหมายเดียวกัน
                      ตามที่ก าหนดเป็นวัตถุประสงค์ของงาน


                            ลักษณะของการประสานงาน

                              1. การประสานงาน เป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดให้งานสอดคล้องกันโดยปราศจากการขัดแย้ง
                              2. การประสานงาน เป็นเรื่องเกี่ยวกับความร่วมมือของผู้น า และผู้ปฏิบัติงานทุกฝ่าย

                              3. การประสานงานเป็นเรื่องเกี่ยวกับหน้าที่ในทางจัดการ
                              4. การประสานงานเป็นการติดต่อสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การติดต่อสื่อสาร 2 ทาง (Two-Way

                      Communication) จะช่วยให้มี ความเข้าใจตรงกัน

                              5. การประสานงานมีอยู่ทุกระดับชั้น ของสายการบังคับ บัญชาทั้งในรูปที่เป็นทางการและไม่เป็น
                      ทางการ

                              6. การประสานงานมีได้ทั้งระหว่างหน่วยงานต่างๆ ระดับ เดียวกัน และระหว่างหน่วยงานที่อยู่

                      ต่างระดับกัน


                            วิธีที่จะให้ได้รับความร่วมมอในการประสานงาน รัตนาภรณ์  ศรีพยัคฆ์ (๒๕๖๐ : ๕ -๗) กล่าวไว้
                                                 ื
                      โดยสรุปดังนี้

                             การประสานงานไม่ควรจะกระท าโดยใช้อานาจสั่งการแต่อย่างเดียว ควรใช้ความสัมพนธ์ที่ดีต่อกัน
                                                                                                  ั
                      เป็นหลัก เพราะความมีน้ าใจต่อกัน ไว้วางใจกันจะเป็นผลให้เกิดการร่วมใจมากกว่า การใช้อานาจหน้าที่

                      พยายามผูกมิตรตั้งแต่ต้นและป้องกันไม่ให้เกิดความรู้สึกเป็นปฏิปักษ์ มีความหวาดระแวงหรือกินแหนง

                                                                                                 ื่
                      แคลงใจกัน ให้การยอมรับซึ่งกันและกัน ไม่นินทาว่าร้ายกันไม่โยนความผิดให้แก่ผู้อน เมื่อมีสิ่งใด
                      จะช่วยเหลือแนะน ากันได้ก็ช่วยเหลืออย่างเต็มใจ และพร้อมจะรับฟังค าแนะน าของผู้เกี่ยวข้องแม้จะไม่เห็น
                      ด้วยก็ไม่ควรแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงก็ต้องแจ้งให้ทราบ
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58