Page 16 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 16
10
ภาพที่ 8 ขั้นตอนกิจกรรมการเรียนรู้
ที่มา : วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี (2559)
อภิปรายผล
ความส าเร็จของการด าเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ในครั้งนี้เกิดขึ้นจากความร่วมมือร่วมใจของบุคลากร
ถอดบทเรียนความส าเร็จจากแนวปฏิบัติที่ดีการเดินทางไปราชการต่างประเทศ และสืบเนื่องจากภาวะผู้น าของ
ผู้บริหาร (ดร.สมชาย ฟ้อนร าดี)ผู้ก าหนดกลยุทธ์ใช้การจัดการความรู้ เพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการจัดท าเอกสาร
เรื่อง การเดินทางไปราชการต่างประเทศของวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี โดยมอบหมายให้ผู้บริหารระดับกลางที่เป็น
หัวหน้างานในสายสนับสนุน ได้แก่ งานธุรการ งานการเงิน และงานพัสดุ เป็นผู้ขับเคลื่อนกลยุทธ์ คือ ปัจจัยส าคัญ
ที่น าความส าเร็จมาสู่การจัดการความรู้ เรื่อง การเดินทางไปราชการต่างประเทศครั้งนี้ เป็นที่ประจักษ์จาก
ความส าเร็จในโครงการพัฒนาความร่วมมือและเชื่อมโยงด้านศิลปวัฒนธรรมกับประเทศอาเซียน ณประเทศ
สาธารณรัฐประชาชนลาว และโครงการพัฒนาความร่วมมือและเชื่อมโยงด้านศิลปวัฒนธรรมกับประเทศอาเซียน
ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนอินโดนีเซีย ซึ่งสอดคล้องกับผลวิจัยของเสนาะ กลิ่นงาม ที่กล่าวไว้ว่า ปัจจัย
ความส าเร็จของการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยราชภัฎประกอบด้วย ภาวะผู้น าของผู้บริหาร โครงสร้าง
พื้นฐานการจัดการความรู้ วัฒนธรรมองค์กร เทคโนโลยีสารสนเทศ และการประเมินผล
สรุป
การจัดการความรู้ครั้งนี้ คือการรวบรวมแนวปฏิบัติที่ดีจากองค์ความรู้ที่มีอยู่ภายในตัวบุคลากรใน
องค์กรน ามาจัดท า “คู่มือการเดินทางไปราชการต่างประเทศ”ส่งผลให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นปัจจัย
ความส าเร็จของการจัดการความรู้ครั้งนี้ เกิดขึ้นจากมีภาวะผู้น าของผู้บริหารเป็นแบบอย่างที่ดีในการแลกเปลี่ยน
ความรู้ และการมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดความรู้ โดยให้คณะกรรมการจัดการความรู้และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เป็นผู้
ขับเคลื่อนการจัดการความรู้ให้มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีแนวทางการปฏิบัติงานการเดินทางไปราชการ
ต่างประเทศเกิดการปฏิบัติงานที่ดี จนท าให้วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี มีนโยบาย น าความรู้ที่ได้จากการจัดการ
ความรู้ครั้งนี้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง