Page 193 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 193

187


               จังหวัดราชบุรี ระหว่างวันที่ 28-31 กรกฎาคม 2559 เป็นโครงการที่จัดขึ้นโดยท าการส ารวจและเก็บข้อมูลใน
               พื้นที่ แล้วน ามาวิเคราะห์ศักยภาพ เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อทราบถึงปัญหา ที่จะน ามาสู่การค้นหาแนว

               ทางการแก้ปัญหา กระบวนการเก็บข้อมูลได้ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์และสร้างผลงาน ได้แก่
               กล้องถ่ายภาพ เครื่องบันทึกเสียงและโทรศัพท์มือถือ เพื่อใช้ในการบันทึกข้อมูลและท าการสร้างผลงานออกมา
               ในรูปแบบสื่อ เพื่อเป็นการกระตุ้นส านึกรักบ้านเกิดและเห็นคุณค่าของถิ่นเกิดของตนเองมากขึ้น การถ่ายภาพ
               แล้วน าภาพมาเรียงร้อยถ้อยค าต่างๆ โดยใช้ค าพูดของคนในพื้นที่มาเรียบเรียงลงบนภาพถ่ายแล้วจัด

               นิทรรศการ “ภาพถ่ายแทนใจ”  เป็นการใช้เครื่องมือการจัดการความรู้ (KM tools) ประเภท การเล่าเรื่อง
               (Story Telling) ในการท ากิจกรรม จากนั้นท าการวัดผลส าเร็จด้วยการเผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต ซึ่งพบว่า แม้
               จะเป็นช่วงเวลาสั้นๆ โครงการนี้กลับได้รับความสนใจจากคนในชุมชนอย่างมาก และได้ช่วยให้คนทั่วไปได้รู้จัก
               ชุมชน ประวัติศาสตร์ของชุมชนมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะได้กระตุ้นให้คนในชุมชนเกิดความรัก หวงแหนและ

               ตระหนักที่จะรักษาชุมชนไว้ ด้วยการร่วมกันสร้างสรรค์กิจกรรมต่างๆ ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง

               กิตติกรรมประกาศ

                       ขอขอบคุณกรรมาธิการสถาปนิกเพื่อสังคมและเมือง สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์

               สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) มูลนิธิส านักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ กลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูตลาดน้ า
               หลักห้า รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ ได้สนับสนุนให้มีโครงการฟื้นฟูเมืองและย่าน
               ชุมชนเก่าขึ้น และขอบคุณทีมผู้จัดโครงการ “Workshop Living with Khlong”  ซึ่งให้โอกาสผู้เขียนได้เป็น
               ส่วนหนึ่งของตัวแทนนักศึกษาจากสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการออกแบบชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรม

               ศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ศาลายา ได้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้

               บรรณานุกรม


               กุลธิดา สืบหล้า, 2548. ย่านเก่า มุมเมืองและเรื่องเล่า. กรุงเทพฯ : บริษัทสร้างสรรค์บุ๊คส์ จ ากัด.

               ชูวิทย์ สุจฉายา, 2552. การอนุรักษ์เมือง. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ ากัด.

               วิวัฒน์ เตมีย์พันธ์, 2553. แนวทางการศึกษาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น. สวนันต์ ธรรมแก้ว (บรรณาธิการ), ภูมิ
                        ปัญญาชาวบ้านสู่งานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น. 27-46. กรุงเทพฯ : บริษัท พลัสเพรส จ ากัด.

               อเนก  นาวิกมูล, 2548. เยือนย่านร้านตลาด. กรุงเทพฯ : มติชน.

               อาภรณ์ จันทรสมวงศ์, 2554. ฟื้นเมืองเก่าให้มีชีวิต. กรุงเทพฯ :  สวัสดีการพิมพ์.

               Kritaporn  Haocharoen,  Wannasilpa  Peerapun  and  Khaisri  Paksukcharern.  2011.  The

                        Emergence and Transformation Processes of Waterfront Community Markets in Tha
                        Chin River Basin. Manusya : Journal of Humanities,14 (1) : 23-38
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198