Page 211 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 211
205
** มีนัยส าคัญทางสถิติ (P < 0.01)
จากตาราง 3 พบว่า นักศึกษามีสมรรถนะในการด าเนินงานค่ายภาษาอังกฤษทั้งในด้านการสอน
ภาษาอังกฤษ ทักษะการแก้ปัญหา และทักษะการท างานสูงกว่าก่อนการอบรมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ 0.01
แสดงว่า การจัดการเรียนรู้โดยน าวิธีการสอนงานและการเป็นพี่เลี้ยงสามารถพัฒนานักศึกษาให้มีสมรรถนะใน
การด าเนินงานค่ายภาษาอังกฤษได้
สรุปและอภิปรายผล
การด าเนินการค่ายภาษาอังกฤษสอนด้วยใจให้น้องเก่ง ด าเนินมาถึงครั้งที่ 8 ณ โรงเรียนยางชุมวิทยา
อ าเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยได้รับความส าเร็จเป็นอย่างดี มีการน าเสนอกิจกรรมสู่สื่อสาธารณะ
อาทิ หนังสือพิมพ์คมชัดลึก (เจน, 2559) ปัจจัยที่ท าให้โครงการนี้ประสบความส าเร็จเกิดจากกระบวนการ
ท างานท าวงจรประกันคุณภาพ PDCA ซึ่งประกอบด้วย การวางแผน การด าเนินโครงการ การตรวจสอบผล
การด าเนินการและการปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่เป็นปัญหา (ศุภัทรศิริ สายทอง และ ธีรดา ค าพันธ์, 2559)
นอกจากนี้ยังมีกระบวนการฝึกนักศึกษาที่จะเข้าร่วมด าเนินการโครงการดังกล่าวอย่างมีระบบ โดยยึดตาม
เครื่องมือจัดการเรียนรู้ประเภท การสอนงาน (Coaching) และ การเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring)
จากผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาที่ได้รับการฝึกฝนโดยผ่านกระบวนการดังกล่าวมีความเข้าใจขอบเขต
และเป้าหมายของงานที่ฝ่ายของตนรับผิดชอบ มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจาก
การท างานได้รับทราบจุดแข็งและจุดอ่อนของตนเพื่อสามารถพัฒนาการท างานอย่างมีประสิทธิภาพ มี
ความสามารถในการวางแผน ล าดับความส าคัญก่อนหลังของ และท้ายที่สุดสามารถท างานได้บรรลุตาม
เป้าหมายที่วางไว้ นอกจากนี้นักศึกษาที่ได้รับการฝึกฝนด้วยเครื่องมือการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวยังมีสมรรถนะ
ในการด าเนินงานค่ายภาษาอังกฤษในทุกสมรรถนะที่จ าเป็น ได้แก่ การสอนภาษาอังกฤษ การท างานร่วมกัน
และการแก้ปัญหา
จากที่กล่าวข้างต้นพบว่า การสอนงานและการเป็นพี่เลี้ยงส่งประโยชน์อย่างยิ่งทั้งต่อ ผู้สอนงานและผู้
ได้รับการฝึกฝน ในแง่ของผู้สอนงานนั้น การสอนงานจะช่วยแบ่งเบาภาระงานเนื่องจากผู้ที่ได้รับการสอนงาน
จะสามารถท างานได้ถูกต้องและท างานตามก าหนดเวลา นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดเวลาเพียงพอในการปรับปรุง
ระบบงานขั้นตอนและวีการท างานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผู้สอนงานยังมีโอกาสในการชี้แจงจุดเด่นหรือจุดที่
ต้องการปรับปรุงเพื่อให้ผู้ที่ได้รับการฝึกมีโอกาสในการปรับปรุงการท างานให้ดียิ่งขึ้น ส าหรับประโยชน์ที่เกิด
กับผู้ที่ได้รับการฝึกซึ่งได้แก่นักศึกษาที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการด าเนินการค่ายภาษาอังกฤษนั้นพบว่า ท าให้
นักศึกษาเหล่านั้นเข้าใจขอบเขตและเป้าหมายของงานในแต่ละฝ่าย รู้ถึงจุดแข็งและจุดอ่อนของตนและ
แนวทางในการปรับปรุง
กล่าวโดยสรุป รูปแบบการจัดการความรู้เพื่อฝึกนักศึกษาให้ด าเนินการค่ายภาษาอังกฤษโดยวิธีการ
สอนงานและการเป็นพี่เลี้ยงสามารถเป็นแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ให้กับหน่วยงานหรือองค์กรอื่น
น าไปใช้ในการฝึกนักศึกษาหรือพนักงานให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน เนื่องจากเป็นการสอนงานจากผู้มี
ประสบการณ์โดยตรงด้วยการให้ค าแนะน าและเป็นการสื่อสารแบบสองทาง เครื่องมือการจัดการเรียนรู้
ประเภทนี้ไม่เพียงแต่จะน ามาใช้ในการฝึกนักศึกษาให้สามารถด าเนินงานค่ายภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพ
แล้ว ยังสามารถน าไปใช้ในบริบทอื่นๆได้อีก อาทิ การเรียนการสอนในชั้นเรียน การท างานในองค์กรใหญ่ๆ
ฯลฯ ทั้งนี้ทั้งนั้นเพื่อจุดมุ่งหมายในการพัฒนาคนทั้งผู้สอนและผู้ถูกสอนให้ท างานได้อย่างเต็มศักยภาพและมี
ความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง มีผลการปฏิบัติงานเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ