Page 225 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 225
219
การ การฝึกอบรม เพื่อการผลิตบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 และการเกิดนวัตกรรมการเรียนการสอนที่มาจากอัต
ลักษณ์ของมหาวิทยาลัยผนวกกับความเชี่ยวชาญของผู้สอนอย่างแท้จริง
วิธีด าเนินการ
ทฤษฎี
1. การริเริ่ม คัดเลือกหัวเรื่องที่สนใจร่วมกัน
1.การจัดการความรู้ด้านการบูรณา 2. การน าไปปฏิบัติ (การถ่ายโอนความรู้)
การการเรียนการสอน (ครั้งที่ 1)
3. การใช้ความรู้ที่ได้รับการถ่ายโอน
2. ผลการจัดการความรู้สู่ 4. การบูรณาการความรู้โดยการน าความรู้มา
การพัฒนาบุคลากรด้าน สู่ภายในองค์กร (Szulanski, 1996)
เทคนิคการสอน
3. รูปแบบการเรียนการสอน;
4. การเรียนการสอนในชั้น 5. การจัดการความรู้ด้านรูปแบบ
-Project Base Learning เรียนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ การเรียนการสอน (ครั้งที่ 2,3)
-STEM
-Professional Leaning 6. ผลการจัดการความรู้
Community สู่รูปแบบการสอนแบบ
CIMP
-วิทยากรกระบวนการ 7. น านวัตกรรมรูปแบบการเรียน
การสอนแบบCIMP มาใช้
- Project Method
-CIPPA Model
ภาพที่ 1 ขั้นตอนวิธีการด าเนินการจัดการความรู้
จากภาพสามารถอธิบายได้เป็นล าดับดังนี้
1. เริ่มต้นจากการจัดการความรู้ด้านบูรณาการการเรียนการสอน ปีที่ 1 โดยเน้นที่ปัญหา อุปสรรค ข้อดี
ข้อเสีย ของการจัดการเรียนการสอนในยุคปัจจุบัน (ปีการศึกษา 2557) โดยใช้กระบวนการจัดการ
ความรู้ของ (Szulanski, 1996)
2. ผลจากการจัดการความรู้ในองค์กรด้านการบูรณาการการเรียนการสอน
3. น าไปสู่ข้อสรุปการจัดการความรู้ที่มีความจ าเป็นในการพัฒนาบุคคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับรูปแบบการสอนที่หลากหลาย เช่น STEM, PLC, Project Base Learning, CIPPA Model
เป็นต้น
4. จากนั้นน ามาใช้ในการเรียนการสอนจริงทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
5. การจัดการความรู้ในองค์กรด้านการเรียนการสอน ปีที่ 2 (2558) มีการถ่ายทอดวิธีการ และผลจาก
การน ารูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายไปใช้ในชั้นเรียน ผนวกกับการศึกษาเพิ่มเติม การ