Page 227 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 227
221
การด าเนินกิจกรรม ผลการด าเนินกิจกรรม
ในชั้นเรียน (Facebook: CIMP RMUTLL PLC) โดยพัฒนาสู่
นวัตกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะกับบริบทของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ล าปาง
ประโยชน์ที่ได้รับจากผลการด าเนินงาน
1. รูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะกับบริบทการบริหารจัดการการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ล าปาง ในรูปแบบ CIMP
2. กระบวนการจัดการความรู้ที่เหมาะกับบริบทของ มทร.ล้านนา ล าปาง
3. การน ารูปแบบการสอนแบบ CIMP ไปใช้ในองค์กรด้านการเรียนการสอน และ เผยแพร่กิจกรรมอย่าง
ต่อเนื่องผ่านสังคมออนไลน์
4. ผู้บริหาร บุคลากร มีความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมการจัดการความรู้
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการจัดการความรู้คือ
1. รางวัลระดับประเทศจากกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้โครงการเป็นฐานการเรียนรู้
ปัจจัยที่ส่งผลให้การจัดการความรู้ในองค์กรให้ประสบความส าเร็จ
สภาพแวดล้อมในองค์กร และวัฒนธรรม
องค์กร (Social)
การจัดการ
ความรู้ มทร. ผู้บริหารในองค์กรที่สนับสนุน
ล้านนา ล าปาง กิจกรรม (Leader)
บุคลากรที่มีความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่
และบุคลากรที่สนับสนุนด้านเทคโนโลยี ( Man)
เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ชัดเจนร่วมกัน (Goal)
งานด้านการสนับสนุน เพื่อติดตามการด าเนิน
กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง รวมถึงงบประมาณ
(Supporting Work)
จากภาพสามารถอธิบายถึงปัจจัยแห่งความส าเร็จของกิจกรรมการจัดการความรู้ในองค์กร (มทร.
ล้านนา ล าปาง) ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยหลักที่ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมการจัดการความรู้ในระยะเวลา 3 ปี คือ
ภาพที่ 2 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการความรู้ในองค์กรให้ประสบความส าเร็จ
1. สภาพแวดล้อมในองค์กรและวัฒนธรรมองค์กร ที่มีการบริหารภายในเป็นเขตพื้นที่ โดยการน าของรอง
อธิการเขตพื้นที่ ซึ่งมีรากฐานการบริหารมาจากวิทยาลัยเกษตร จากนั้นเป็นสถาบันเทคโนโลยี และ
มหาวิทยาลัย ซึ่งส่งผลให้เกิดวัฒนธรรมองค์กรที่สะดวกต่อการจัดกิจกรรมในลักษณะเวทีเสวนา แลกเปลี่ยน
เรียนรู้ 2. ผู้บริหารในองค์กรที่สนับสนุนกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารระดับสูงตั้งแต่รองอธิการบดี เขตพื้นที่