Page 241 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 241
235
5. การพัฒนาระบบ (Construction) เมื่อผู้พัฒนาสร้างเว็บไซต์ศูนย์รวมธุรกิจโฮมสเตย์ส าเร็จแล้ว ได้
น าไปทดสอบการใช้งานโดยให้เจ้าของโฮมสเตย์ในชุมชนเข้าไปใช้งานเว็บไซต์ศูนย์รวมธุรกิจโฮมสเตย์ในฐานะ
สมาชิกของเว็บไซต์ ซึ่งต้องด าเนินการลงทะเบียนการเข้ารวมเป็นสมาชิกของเว็บไซต์ก่อนแล้วท าการล็อกอิน
เข้าสู่ระบบเพื่อเลือกดูรายงานการจองห้องพักของโฮมสเตย์ตนเองได้
6. การปรับเปลี่ยน (Construction) หากเจ้าของธุรกิจโฮมสเตย์มีความต้องการจะปรับเปลี่ยนรูปแบบ
ระบบก็สามารถบอกถึงความต้องการที่จะเปลียนแปลงระบบซึ่งต้องอยู่ในภายใต้การด าเนินงานของผู้ออกแบบ
พัฒนา
7. บ ารุงรักษา (Maintenance) เมื่อธุรกิจโฮมสเตย์มีการขยายตัวมากขึ้น ความต้องการของระบบ
อาจจะเพิ่มมากขึ้น เช่น เจ้าของโฮมสเตย์ต้องการรายงานที่เกี่ยวกับโฮมสเตย์ของตนมากขึ้น ผู้พัฒนาจึงต้อง
ออกพัฒนาเว็บไซต์ ที่สามารถเพิ่มหรือแก้ไขข้อมูลลงในเว็บไซต์ได้ง่าย เพื่อรองรับความต้องการของผู้ใช้งาน
ระบบ (โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์, 2545.)
ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ท าให้ผู้พัฒนาได้เว็บไซต์ศูนย์รวมธุรกิจโฮมส
เตย์ ที่สามารถให้เจ้าของธุรกิจโฮมสเตย์ได้น าไปใช้งานเพื่อการบริหารโฮมสเตย์ในชุมชนให้ด าเนินไปได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ สามารถประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ของชุมชนคีรีวง และเพิ่มการขยายตัวของ
เศรษฐกิจในประเทศได้อีกด้วย
ผลและอภิปรายผลการด าเนินงาน
การพัฒนาระบบสารสนเทศที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ โดยกระบวนการ KM tools และ
กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งได้ระบบสารสนเทศที่มีหน้าต่างของเว็บไซต์ศูนย์รวมธุรกิจโฮมสเตย์
เพื่อใช้ประชาสัมพันธ์โฮมสเตย์ที่เป็นสมาชิก แบบฟอร์มข้อมูลลูกค้า แบบฟอร์มข้อมูลเจ้าของกิจการโฮมเสตย์
หรือสมาชิก การจอง/ยกเลิกการจอง และรายงานผลส าหรับเจ้าของกิจการ เช่น รายงานยอดการจองห้องพัก
รายงานชุดการท่องเที่ยวยอดนิยม โดยมีหน้าต่างเมนูเพื่อใช้ค้นหาสารสนเทศที่เกี่ยวกับโฮมสเตย์ เช่น บ้านพัก
ภาพบรรยากาศ ชุดการท่องเที่ยว ชุดอาหาร และยังมีหน้าต่างล็อกอินส าหรับบุคคลทั่วไปที่ต้องการเป็นสมาชิก
ของเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์โฮมสเตย์ ดังภาพต่อไปนี้
ภาพที่ 1 E-R Model แสดงความสัมพันธ์ของเว็บไซต์ศูนย์รวมธุรกิจโฮมสเตย์