Page 244 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 244
238
วิเคราะห์อุปสงค์การส่งออกยานยนต์ไปประเทศออสเตรเลีย
Analysis of Demand for Automotive Export to Australia
ชมพูนุช สังข์ศาสตร์ 1
2
นวลละออ อานามวัฒน์
1
นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
2
อาจารย์ที่ปรึกษา คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
1
2
E-mail: gookitune@gmail.com , Nuallaor2513@hotmail.com
บทสรุป
ยานยนต์เป็นอุตสาหกรรรมที่มีบทบาทความส าคัญต่อเศรษฐกิจไทย โดยสนับสนุนการจ้างงาน การ
พัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนอื่น ๆ ท าให้การผลิต การลงทุน และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจขยายตัวมาก
ขึ้น ประเทศไทยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มพัฒนาประเทศ โดย
ในช่วงแรกสนับสนุนการผลิตในประเทศเพื่อลดการน าเข้า ต่อมาเน้นส่งเสริมการผลิตเพื่อส่งออก การมี
อุตสาหกรรมสนับสนุนในประเทศ ความได้เปรียบด้านท าเลที่ตั้งของประเทศ ท าให้ประเทศไทยเป็นผู้ผลิต
รถยนต์รายใหญ่ที่สุดในอาเซียน โดยตลาดส่งออกส าคัญ 5 ล าดับ ได้แก่ ออสเตรเลีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย
ซาอุดิอาระเบีย และมาเลเซีย ส าหรับตลาดน าเข้ามาจากญี่ปุ่นเป็นหลัก เมื่อเปรียบเทียบระหว่างมูลค่าการ
ส่งออกและการน าเข้าแล้ว ประเทศไทยเกินดุลการค้าในอุตสาหกรรมยานยนต์ ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ก าหนด
อุปสงค์การส่งออกยานยนต์ของไทยไปออสเตรเลีย โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิรายปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542-2558 ด้วย
วิธีก าลังสองน้อยที่สุด พบว่าการส่งออกยานยนต์ของไทยไปออสเตรเลียขึ้นอยู่กับผลิตภัณฑ์มวลรวมของ
ออสเตรเลียและมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ ถ้าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเพิ่มขึ้นร้อย
ละ 1 จะท าให้การส่งออกยานยนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.49 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับอัตรา
การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงข้ามกัน กล่าวคือ ถ้าอัตราแลกเปลี่ยน
เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะท าให้การส่งออกยานยนต์ลดลงร้อยละ 4.60 ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ก าหนดไว้
แสดงว่า อุปสงค์การส่งออกยานยนต์ย่อมขึ้นอยู่ภาวะเศรษฐกิจผู้น าเข้าเป็นหลัก ดังนั้นการขยายตลาดส่งออก
ไปยังประเทศอื่นมากขึ้น ย่อมมีส่วนช่วยลดความเสี่ยงจากการส่งออกได้
ค าส าคัญ: วิเคราะห์อุปสงค์การส่งออกยานยนต์
Summary
The Automotive Industries is important rule to Thai economy. By supporting
employment, support industries development and more expansion productive investment
and economic growth. Thailand's policy to promote and support the industry continuously
from start of country development. In the first support domestic production to reduce
imports, later on boosting production for export. The domestic industry support and location
advance. The country's largest auto manufacturers in ASEAN. The five major export markets