Page 245 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 245

239


               include Australia, the Philippines, Indonesia, Saudi Arabia and Malaysia respectively for the
               market  are  mainly  imported  from  Japan.  When  comparing  the  value  of  exported  and

               imported, Thailand's trade surplus in automotive industry. Analysis of the determinants of
               Automotive Demand for exports of Thailand to Australia. Using secondary data annually
               since 2542 - 2558 by Ordinary least squares method showed that Thailand's auto exports to
               Australia, depending on the gross domestic product of Australia and the relationship that is

               in  the  same  direction,  the  gross  domestic  product  increased  by  one  percent  to  make
               automotive  exports  increased  by  4.49  percent,  which  is  based  on  assumptions.  It  also
               depends on exchange rate and correlation in the opposite direction, that is, if the exchange
               rate rises 1 percent makes automotive exports fell 4.60 percent, which does not conform to

               the assumptions set forth. Show that export demand vehicles depends primarily economic
               importer. Therefore, expanding export markets to other countries more for reduces the risk
               of exports.
               Key words:  Analysis of Demand for Automotive Export


               บทน า
                       ยานยนต์เป็นอุตสาหกรรมที่มีความส าคัญและได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากภาครัฐมาตลอดตั้งแต่

               แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2504 ทั้งนี้เพราะเป็นอุตสาหกรรมที่ท าให้เกิดการจ้าง
               งาน และการเชื่อมโยงไปยังอุตสหกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งท าให้เศรษฐกิจขยายตัวมากขึ้น ผลของนโยบาย
               ส่งเสริมของภาครัฐท าให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์ในภูมิภาค และยานยนต์เป็น

               สินค้าส่งออกส าคัญของไทย การส่งออกยานยนต์ของไทยที่ผ่านมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550-2559 (มค.-ตค.) ตาม
               ตารางที่ 1 พบว่า การส่งออกปี 2552 ลดลงร้อยละ 25.60 และกลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 44.17 ในปี 2553
               โดยการส่งออกลดลงอีกครั้งในปี 2554 ที่ร้อยละ 7.06 และกลับมาขยายในปี 2555 ขยายตัวถึงร้อยละ 37.14
               ซึ่งตั้งแต่ปี 2555 การส่งออกได้ขยายตัวมาอย่างต่อเนื่อง (อ้างอิง : กรมศุลกากร 2559)

                       ตารางที่ 1 การส่งออกยานยนต์ของประเทศไทย                                      หน่วย:ล้านบาท


                            ปีพ.ศ.               มูลค่าการส่งออก          อัตรการเปลี่ยนแปลง(ร้อยละ)

                            2550                   470,981.36                         -
                            2551                   548,768.93                       16.52
                            2552                   408,275.55                      -25.60

                            2553                   588,593.41                       44.17
                            2554                   547,057.70                       -7.06

                            2555                   750,235.67                       37.14
                            2556                   791,364.13                       5.48
                            2557                   836,342.55                       5.68

                            2558                   909,103.96                       8.70
                        2559 (9 เดือน)             726,916.66                      -20.04

               ที่มา : กรมศุลกากร (2559)
   240   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250