Page 246 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 246

240



                       ส าหรับตลาดส่งออกส าคัญของประเทศไทย 5  อันดับแรก ตามตารางที่ 2  พบว่า ออสเตรเลียเป็น

               ประเทศที่ไทยส่งออกสินค้ายานยนต์มากที่สุด โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17.5 ของการส่งออกรวม (สถิติกรม
               ศุลกากรปี 2558) รองลงมาเป็น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ซาอุดีอาระเบีย และมาเลเซีย ส่วนตลาดน าเข้า ตาม

               ตารางที่ 3 พบว่า ประเทศผู้น าเข้าส าคัญ 5  อันดับแรก ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน อินโดนีเซีย เยอรมัน และ

               สหรัฐอเมริกา ซึ่งการที่อุตสาหกรรมยานยนต์มีทั้งการส่งออกและการน าเข้าด้วย สะท้อนการผลิตเป็นแบบ
               เครือข่ายการผลิตระหว่างประเทศ ซึ่งหมายความว่า การผลิตสินค้าส าเร็จรูปทุกอย่างไม่ได้เกิดขึ้นในประเทศ

               เดียว แต่มีการกระจายการผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์ หรือสินค้าขั้นกลางในประเทศต่างๆ


               ตารางที่ 2  ตลาดส่งออก 5 อันดับแรกของประเทศไทย

                                                              มูลค่า : ล้านบาท

                                           2556          2557           2558        2559 (ม.ค.-ก.ค.)
                          ประเทศ
                      1. ออสเตรเลีย      133,642.39     127,594.12  158,381.07           102,962.81

                      2. ฟิลิปปินส์       36,598.37      49,528.25      70,186.05         43,873.87
                      3. อินโดนีเซีย      74,163.63      64,533.76      50,266.97         29,259.72
                      4. ซาอุดีอาระเบีย   45,978.41      51,796.56      51,094.53         27,213.34
                      5. มาเลเซีย         46,172.14      51,062.92      49,409.47         26,094.26


                       ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส านักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ (2559)


               ตารางที่ 3  ตลาดน าเข้า 5 อันดับแรกของประเทศไทย

                                                              มูลค่า : ล้านบาท
                          ประเทศ           2556          2557           2558        2559 (ม.ค.-ก.ย.)

                      1. ญี่ปุ่น         173,320.36     112,934.43  112,938.07            89,828.75
                      2. จีน              34,648.09      28,165.45      35,539.44         31,074.66

                      3. อินโดนีเซีย      28,280.13      24,009.93      25,043.19         20,659.92
                      4. เยอรมัน          22,844.94      21,288.73      21,270.97         19,477.25
                      5. สหรัฐอเมริกา      8,122.47        9,903.90     11,973.89         15,838.59
                       ที่มา : กรมศุลกากร (2559)


                       เมื่อเปรียบเทียบการส่งออกยานยนต์ ในปี พ.ศ. 2557-2559 (ม.ค.-ก.ค.) และการน าเข้ายานยนต์ของ

               ไทย ในปี พ.ศ. 2557-2559 (ม.ค.-ก.ย.) พบว่า ประเทศไทยมีมูลค่าการส่งออกมากว่าการน าเข้า แสดงว่า
               เกินดุลการค้าในอุตสาหกรรมยานยนต์ ดังนั้นอุตสาหกรรมยานยนต์จึงเป็นอุตสาหกรรมที่น ารายได้เข้าประเทศ
                       การส่งออกยานยนต์ของไทยขยายตัวสูงขึ้นตามความต้องการในตลาดโลก อีกทั้งการเป็นฐานการผลิต
               ใหญ่ที่สุดในอาเซียน ประกอบกับนโยบายการเปิดเสรีการค้ากับประเทศต่างๆ ท าให้ลดหรือขจัดอุปสรรคด้าน

               ภาษีอากร ท าให้สนับสนุนการส่งออกยานยนต์ แต่เนื่องจาก อุตสาหกรรมยานยนต์ส่วนใหญ่เป็นการลงทุน
   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251