Page 258 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 258

252


                                การบริการวิชาการแบบมีสวนรวมเพื่อสรางชุมชนเขมแข็ง

                      Academic Service of Participation for Creating Strength Community

                                                                  1
                                                1
                                 ชญาดา  ร่วมโพธิ์รี ,  มลฤดี  วัฒนอังกูร  และ ยุบุญ  พฤหัสไพลิน 1
                                       1
                                        อาจารย์ สาขาวิชาการจัดการ คณะเทคโนโลยีสังคม
                                   มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี
                                           E-mail: chayada_wan@hotmail.com


               บทสรุป
                    การจัดการองค์ความรู้ชุมชนหมู่ 8 บ้านคลองน้ าเป็น ต าบลตะเคียนทอง อ าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัด

               จันทบุรี 3 เรื่อง ได้แก่ การบริหารจัดการชุมชน  ทุนชุมชน และเทคนิคการประกอบอาชีพ(ทุเรียน) เริ่ม
               ด าเนินการวางแผนร่วมกับแกนน าชุมชน การลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ปัญหา พร้อมส ารวจความต้องการ
               ของชุมชน เข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน เพื่อสร้างความคุ้นเคย สร้างการมีส่วมร่วมของชุมชน การจัดประชุม
               ก าหนดประเด็นที่จะท า KM ร่วมกับชุมชน ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการท า KM  หลักและวิธีการที่ดี ร่วมถึง

               ประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับจากการท า KM  ท าให้ชุมชนเข้าใจกระบวนการ และการลงมือปฏิบัติจริง  มีแนว
               ปฏิบัติที่ดีในการน าความรู้ ประสบการณ์จากการประกอบอาชีพของตนเองมาถ่ายทอด  ฝึกเป็นผู้พูดและผู้ฟัง
               ที่ดี การเตรียมตัวของอาจารย์วิทยากร การตั้งค าถาม การจดบันทึก การสนทนากลุ่ม  การสัมภาษณ์

               เจาะลึก การสังเคราะห์ และการเขียนรายงาน KM    ซึ่งกระบวนการทั้งหมดนี้ชุมชนมีส่วนร่วม ความรู้
               ชุมชน เป็นความรู้ที่เกิดจากการด าเนินชีวิต และการท างานในชุมชน ชาวบ้าน จนเกิดเป็นความเข้าใจ ความ
               ช านาญ ความรู้ลึกประสบการณ์ของบุคคลในชุมชน ถูกแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ก่อให้เกิดการแบ่งปันและถ่ายโอน
               ความรู้  ซึ่งท าให้ความรู้ที่มีอยู่แพร่กระจาย ทั่วทั้งชุมชนอย่างสมดุล  น าไปสู่การพัฒนาชุมชนในทุก ๆ ด้าน
               อย่างยั่งยืน  มีการปรับปรุงและพัฒนาให้เหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์  การเปลี่ยนแปลงของชุมชนและ

               มีการสืบทอดทางวัฒนธรรมของชุมชน  เป็นทางเลือกในการแก้ปัญหาของชุมชนได้จริง

               ค  าส  าค ัญ : การบริหารจัดการชุมชน, การจัดการองค์ความรู้, ทุนชุมชน, เทคนิคการประกอบอาชีพ

               Summary

                    The  community  knowledge  management  of  Moo  8  Ban  Klongnampen  Tambon

               Takianthong  Amphoe  Khao  Khitchakut,  Chantaburi  Province  consists  of  3  subjects;  the
               community management, the community capital, and the durian growing technique as a
               job.  The  process  begins  with  making  plan  by  the  leaders  of  community,  surveying  and
               collecting data (problems and need), joining community activities for making familiarization

               and  creating  participation  of  community,  meeting  by  determining  subject  of  Knowledge
               Management (KM), and distributing knowledge of KM in the field of principle, process and
               benefit of doing KM. The community can understand the km process in order to practice

               truly and create best practice from experience through sharing. All participants be practiced
               as a speaker and listener. The preparing of lecturers should be concerned of questioning,
               taking  notes,  discussing  group,  interviewing  in-depth,  synthesizing  and  KM  reporting.
   253   254   255   256   257   258   259   260   261   262   263