Page 260 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 260

254



               ว ิธ ีการด าเนินงาน

                    1.  การบ่งชี้ความรู้ ด้วยการลงพื้นที่ สร้างความคุ้นเคยกับชุมชน ส ารวจ ค้นหาข้อมูล ประเด็นปัญหาของ
               ชุมชน เพื่อน ามาเป็นหัวข้อในการจัดการองค์ความรู้ (KM) โดยติดต่อผู้ใหญ่บ้าน เพื่อนัดประชุมแก่นน าชุมชน

               โดยใช้ระยะเวลาก่อนการด าเนินโครงการอย่างน้อย 1 เดือน
                    2.  การสร้างและแสวงหาความรู้ ประชุมร่วมกับชุมชน เพื่อชี้แจงรายละเอียดของโครงการ กิจกรรมต่าง
               ๆ พร้อมหาหัวข้อการท า KM  โดยให้ที่ประชุมเสนอหัวข้อ ร่วมกันลงมติเห็นชอบและก าหนดวัน เวลา ในการ

               ด าเนินโครงการ
                    3.  การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ วางแผนการด าเนินโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการ ขออนุมัติโครงการ
               พร้อมทั้งประชุมคณะกรรมการโครงการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันวางแผนด าเนินการ สรุป รวบรวม

               วิธีการด าเนินงาน เพื่อสร้างความเข้าใจให้ตรงกัน ก่อนที่จะลงพื้นที่จริง  ใช้ระยะเวลา 15 วัน
                    4.    ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการจัดการองค์ความรู้ (KM) ความส าคัญ หลักและวิธีการท า KM  ให้กับ
               ชุมชน และจัดกลุ่มสนทนา ให้คนในชุมชนได้ถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกันโดยใช้เทคนิค

               พลังเรื่องเล่า เกี่ยวกับหัวข้อที่ได้จากมติในที่ประชุม 3 เรื่อง คือ การบริหารจัดการชุมชน  ทุนชุมชน และ
               เทคนิคการประกอบอาชีพ(ทุเรียน)  โดยให้ชุมชนแบ่งกลุ่มกันเองตามเรื่องที่มีความถนัด กลุ่มละ 8 คน  โดยมี
               วิทยากรประจ ากลุ่ม 1 คน และนักศึกษา 2 คน ซึ่งเป็นผู้ช่วยวิทยากรคอยถอดองค์ความรู้  เทคนิคส าคัญคือ
               การฟัง การคิด วิเคราะห์ การตั้งค าถาม การจดบันทึก การสังเคราะห์ และการเขียนสรุปประมวลผล (วิรัตน์

               ค าศรีจันทร์. 2554)
                    5.  หลังจากการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้เสร็จสิ้นลง คณะผู้ด าเนินโครงการทั้ง 3 เรื่อง ได้น าเสนอผลการ
               รวบรวมข้อมูลในเบื้องต้นให้กับชุมชน เพื่อให้ชุมชนช่วยตรวจสอบในประเด็นของ KM   เพื่อแก้ไขข้อมูลใน

               เบื้องต้น
                    6.  คณะผู้ด าเนินโครงการ น าข้อมูลที่ได้จากชุมชนในช่วงเวลาที่จัดโครงการ ไปเรียบเรียงเป็นรายงาน

               KM    และน ากลับมาเสนอให้ชุมชนได้ตรวจสอบ พร้อมทั้งปรับแก้ไขให้เกิดความสมบูรณ์ที่สุด ใช้เวลา 3
               สัปดาห์
                    7.  การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ โดยจัดท ารายงานเล่ม KM ฉบับสมบรูณ์ จ านวน 3 เรื่อง พร้อมแผ่น

               พับสรุปสาระส าคัญของหัวข้อ KM ทั้ง 3 เรื่อง เผยแพร่ให้กับคนในชุมชน และชุมชนใกล้เคียง


               ผลและอภิปรายผลการด าเนินงาน

                    ได้องค์ความรู้ชุมชน 3 เรื่อง โดยจัดท าเล่มรายงาน KM จ านวน 3 เล่ม ได้แก่ การบริหารจัดการชุมชน
               ทุนชุมชน และเทคนิคการประกอบอาชีพ(ทุเรียน) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

                    การบริหารจัดการชุมชนหมู่ 8 บ้านคลองน้ าเป็น มีองค์ประกอบและรายละเอียด ดังนี้
                    1.  โครงสร้างชุมชน มีทั้งแบบที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ

                    2.  ผู้น าชุมชน มีแนวทางปฏิบัติ คือ “เคารพผู้ใหญ่ โปร่งใสในการท างาน สืบสานความสามัคคี ตามวิถี
               เศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงอบายมุข”

                    3.  สังคม-วัฒนธรรมของชุมชน โครงสร้างทางสังคม ครอบครัวมีขนาดเล็กและมีโครงสร้างไม่ซับซ้อน
                    4.  สิ่งแวดล้อม อุดมสมบูรณ์  คนในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากร มีการคัดแยกขยะ
   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265