Page 263 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 263
257
องค์ความรู้ที่ได้ เพื่อเป็นข้อมูลส าหรับเผยแพร่ให้คนในชุมชน และชุมชนใกล้เคียงได้น าไปใช้ประโยชน์
ต่อไป นอกจากนี้ ชุมชนหมู่ 8 บ้านคลองน้ าเป็น ต าบลตะเคียนทอง อ าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี มีแนว
ปฏิบัติที่ดีในการน าความรู้ ประสบการณ์จากการประกอบอาชีพของตนเองมาเล่าสู่กันฟัง เพื่อแลกเปลี่ยน
ข้อมูลทั้งด้านที่ประสบความส าเร็จ และด้านของปัญหา อุปสรรค เพื่อร่วมกันหาแนวทางการแก้ไขปัญหาต่าง
ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ าวัน ทั้งทางด้านครอบครัว และทางด้านการประกอบอาชีพ ชุมชนได้เห็นประโยชน์
ของการท า KM ช่วยลดระยะเวลา และต้นทุนในการประกอบอาชีพ สร้างจุดแข็งให้กับชุมชน คนในชุมชน
เข้าใจและเห็นประโยชน์ของกระบวนการท า KM และน าพาตนเองเข้าไปมีส่วนร่วมกับชุมชนมากขึ้น
ปัจจัยความส าเร็จ
ปัจจัยส าคัญที่ท าให้การจัดการองค์ความรู้ (KM) ชุมชนหมู่ 8 บ้านคลองน้ าเป็น ประสบผลส าเร็จไปด้วยดี
คือการสร้างความคุ้นเคยกับชุมชน การเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนอย่างสม่ าเสมอ สร้างความไว้วางใจให้
เกิดขึ้นก่อนการด าเนินโครงการ การจัดการให้ชุมชนมีส่วนร่วมทุกขั้นตอนการด าเนินงาน ให้ชุมชนได้เห็น
ความส าคัญ และยอมรับในหลักของการท า KM รวมทั้งสร้างบรรยากาศ กระตุ้นให้บุคคลที่มีบทบาทส าคัญ
ในด้านต่าง ๆ ได้เล่าเรื่องราวประสบการณ์ของตน เพื่อแบ่งปันให้ผู้อื่นได้ฟัง และน าไปใช้ประโยชน์ ด้วยการ
บันทึกเรื่องราวเป็นรายงานเล่ม KM วิทยากรประจ ากลุ่มต้องศึกษาข้อมูลในประเด็นที่ท า KM มาเป็นอย่างดี
สามารถตั้งค าถาม เพื่อให้เกิดการเล่าเรื่องและสามารถจับใจความส าคัญของเรื่องนั้น ๆ ได้
ภาพที่ 4 การเข้าร่วมกิจกรรมรดน้ าด าหัวผู้สูงอายุ
ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการด าเนินโครงการครั้งนี้ ได้แก่ ช่วงเวลาที่ผู้เข้าอบรมหรือชุมชนว่างไม่พร้อม
กัน การนัดหมายการจัดโครงการค่อนข้างล่าช้า เนื่องจากงานของชุมชนคือ เกษตรกรสวนผลไม้ ซึ่งเป็นช่วง
ของการเตรียมต้นส าหรับการออกดอกในฤดูกาลหน้า ซึ่งแนวทางที่คณะผู้ด าเนินโครงการจะแก้ไขปัญหาได้ก็
คือ การวางแผนการด าเนินงาน ให้เร็วขึ้นกว่าเดิม โดยให้อยู่ในช่วงต้นไตรมาสแรก คือเดือนตุลาคม ซึ่งชุมชน
จะมีเวลาว่างมากกว่าในช่วงเดือน ๆ