Page 259 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 259
253
Moreover, these processes are included by participation of community. The knowledge is
collected from the way of life, society and people working until they can understand,
professionalize, have deep experience of people in community. Knowledge sharing and
distributing are disseminated equally through society. Therefore, the community is
developed sustainably and improved appropriately according to current situation. The
change and cultural succession are alternative to effective solve community problems.
Key words : Community management, Knowledge Management, Capital Community,
Technical occupation.
บทน า
การพัฒนาคน เป็นเป้าหมายที่ส าคัญที่สุด การที่คนจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้นั้น ส่วนหนึ่งเกิดจากชุมชนที่
อยู่อาศัย ความเข้มแข็งของชุมชนถือว่าเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้คนมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ชุมชนส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้น
ได้ต้องมีองค์ประกอบ ไม่ว่าจะเป็นท าเลที่ตั้ง จ านวนสมาชิกในชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติ และที่ขาดไม่ได้คือ
ผู้น าชุมชนที่ดี ความเข้มแข็งของชุมชนส่วนหนึ่งมาจากการบริหารจัดการชุมชน ทุนชุมชน และที่ขาดไม่ได้คือ
สมาชิกชุมชน การจัดการองค์ความรู้ที่มีอยู่ในชุมชน จะช่วยให้ชุมชนเกิดการพัฒนาที่รวดเร็ว กระบวนการ
จัดการองค์ความรู้ชุมชน จากความคิด การกระท า ตลอดจนประสบการณ์ของบุคคลที่อยู่ในชุมชน จะถูก
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งก่อให้เกิดการแบ่งปันและถ่ายโอนความรู้ และในที่สุดความรู้ที่มีอยู่จะแพร่กระจาย
และไหลเวียนทั่วทั้งชุมชนอย่างสมดุล ซึ่งจะน าไปสู่การเพิ่มความสามารถในการพัฒนาผลผลิตและเพิ่มรายได้
ให้กับครอบครัวและชุมชน ความรู้ชุมชน เป็นความรู้ที่เกิดจากการด าเนินชีวิต และการท างานในชุมชน
ชาวบ้าน จนเกิดเป็นความเข้าใจ ความช านาญ ความรู้ลึก สามารถถ่ายทอดและน าไปใช้ต่อ ๆ กันในวิถี
ชีวิตประจ าวันได้ มีการปรับปรุงและพัฒนาให้เหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงของ
ชุมชนและมีการสืบทอดทางวัฒนธรรมของชุมชน เป็นทางเลือกในการแก้ปัญหาของชุมชนได้จริง
จากความส าคัญขององค์ความรู้ชุมชนที่ฝังอยู่ในตัวสมาชิกของชุมชน โดยเฉพาะชุมชนหมู่ 8 บ้านคลอง
น้ าเป็น ต าบลตะเคียนทอง อ าเภอเขาคิชฌกูฎ จังหวัดจันทบุรี ซึ่งมีผลงานหลายด้านเป็นที่ยอมรับ ผู้น ามี
ความเข้มแข็ง สมาชิกชุมชนประสบความส าเร็จจ านวนมาก และถือได้ว่าเป็นชุมชนต้นแบบ แต่หากชุมชนมี
การน ากระบวนการจัดการองค์ความรู้ (KM) มาใช้ในการบริหารจัดการชุมชนในด้านต่าง ๆ เช่น การจัดการทุน
ชุมชน การจัดการองค์ความรู้ด้านเทคนิคการประกอบอาชีพ และด้านอื่น ๆ จะช่วยให้ชุมชนสามารถพัฒนา
ไปได้อย่างรวดเร็ว การจัดการความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลที่เปี่ยมไปด้วยประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ
เทคนิควิธีการมากมายที่บุคคลใช้ในการด าเนินชีวิต ประกอบกับข้อมูล สารสนเทศที่ทันสมัยมากมายที่มีอยู่
และเข้าถึงได้ง่าย การพัฒนาชุมชนต้องมี 4 องค์ประกอบ คือ 1. ชุมชน การอยู่ร่วมกัน 2. เป็นสุข ความเป็น
สมดุลบูรณาการของปัจจัยต่าง ๆ เช่น ชีวิต สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ศาสนธรรม ครอบครัว
และชุมชน 3. การเรียนรู้ การเรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชนนั้น ๆ ผ่านการปฏิบัติ และ 4. การเสริมสร้าง การ
เข้าไปเอื้ออ านวย ส่งเสริม หรือเสริมพลัง เพื่อให้ชุมชนมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน (อรัญ จิตตะเสโน และคณะ.
2555)
ด้วยเหตุนี้คณะผู้จัดท าโครงการจึงเห็นความส าคัญของการจัดการความรู้ชุมชน เพื่อเป็นการถ่ายทอดองค์
ความรู้ในด้านวิชาการ ทฤษฎี แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางวิชากับองค์ความรู้ที่ชุมชนมีและฝึกปฏิบัติ
กระบวนการท า KM ฝึกการเป็นผู้พูดและผู้ฟังที่ดี เพื่อให้ชุมชนเข้าใจในกระบวนการท า KM สามารถน า
ความรู้ไปประยุกต์ใช้ และถ่ายทอดยังบุคคลอื่น ๆ ต่อไป