Page 256 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 256
250
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศด้านการวิจัย
ภาพที่ 2 การเรียนรู้ขับเคลื่อนด้วยการวิจัย
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การที่อาจารย์ยังมีผลงานวิจัยหรือผลงานวิชาการเผยแพร่น้อย (บางมหาวิทยาลัย) ปรากฎได้จาก
คะแนนตรวจประเมินประกันคุณภาพการศึกษา แม้ว่าคะแนนรวมผ่านเกณฑ์ ในทัศนะของผู้เขียนจากการท า
หน้าที่อาจารย์ผู้สอน การท าวิจัย และการเป็นคณะกรรมการการจัดการความรู้ (Knowledge
Management) พบว่า การสื่อสารด้านกฎระเบียบการพัฒนาอาจารย์ยังมีช่องว่าง ท าให้มีทั้งอาจารย์ที่เห็น
ด้วย ไม่เห็นด้วย หรือไม่เข้าใจ ยกตัวอย่างเช่น การก าหนดหลักเกณฑ์ให้อาจารย์ต้องท าวิจัย การเป็นอาจารย์
ประจ าหลักสูตรต้องมีผลงานวิชาการเผยแพร่ การก าหนดระยะเวลาให้อาจารย์ต้องส่งผลงานทางวิชาการเพื่อ
ขอต าแหน่งทางวิชาการเพราะมีผลต่อการต่อสัญญา การก าหนดให้อาจารย์ที่มีต าแหน่งทางวิชาการต้องมี
ผลงานวิจัยเผยแพร่ เป็นต้น
นอกจากนี้แล้วการที่ก าหนดให้น้ าหนักคะแนนการวิจัยส าหรับการประเมินผลงานค่อนข้างน้อย
ขณะที่ต้องใช้ระยะเวลานานกว่าจะได้ตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อเทียบกับภาระงานด้านอื่น อาจท าให้อาจารย์ขาด
แรงจูงใจในการท างานวิจัยเมื่อเทียบกับการท างานด้านอื่นที่ใช้ระยะเวลาน้อยกว่า ประกอบกับการมีโครงการ
มากเกินไป โดยเฉพาะโครงการที่ไม่ได้ตอบโจทย์การประกันคุณภาพ ระบบการประเมินที่เน้นเอกสาร ท าให้
คะแนนผลการตรวจประเมินคุณภาพภายในด้านงานวิจัยยังมีจุดอ่อน
ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรปรับปรุงหลักเกณฑ์การประเมินผลงาน โดยเพิ่มน้ าหนักคะแนนด้าน
การวิจัย การก าหนดวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยให้ท้าทายมากขึ้น การสร้างความเข้าใจให้ตะหนักถึง
ความส าคัญในการพัฒนาทักษะของนักเรียนนักศึกษา ทบทวนหลักเกณฑ์การตรวจประเมินประกันคุณภาพ
เป็นต้น