Page 264 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 264
258
สร ุป
การจัดการองค์ความรู้ชุมชน (KM) ชุมชนหมู่ 8 บ้านคลองน้ าเป็น ต าบลตะเคียนทอง อ าเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี ได้เล่มรายงาน KM 3 เรื่อง ได้แก่ การบริหารจัดการชุมชน ทุนชุมชน และเทคนิคการ
ประกอบอาชีพ(ทุเรียน) ซึ่งได้เริ่มด าเนินการวางแผนร่วมกับแกนน าชุมชน การลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูล
ประเด็นปัญหาพร้อมส ารวจความต้องการของชุมชน สร้างการมีส่วมร่วมของชุมชน การจัดประชุมเพื่อก าหนด
ประเด็นที่จะท า KM ท าให้ชุมชนรู้สึกถึงการเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ การถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการท า KM
หลักและวิธีการที่ดี ร่วมถึงประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับจากการท า KM ท าให้ชุมชนเข้าใจกระบวนการจัดท า
จากการลงมือปฏิบัติจริง มีแนวปฏิบัติที่ดีในการน าความรู้ ประสบการณ์จากการประกอบอาชีพของตนเองมา
เล่าสู่กัน ฝึกเป็นผู้พูดและผู้ฟังที่ดี การตั้งค าถาม การจดบันทึกเรื่องราว การสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์
เจาะลึก การสังเคราะห์ และการเขียนรายงาน KM ซึ่งกระบวนการทั้งหมดนี้ ชุมชนได้มีส่วนร่วมเป็นส่วน
หนึ่งของการด าเนินงาน คนในชุมชนมีปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้น ข้อมูลที่อยู่ในเล่มรายงาน KM ทั้ง 3 เรื่อง ได้
ถูกน าไปถ่ายทอดต่อยังชุมชนใกล้เคียง และการศึกษาดูงานจากชุมชนอื่น นอกจากนี้คนในชุมชนได้น า
หลักการการจัดการองค์ความรู้ ไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิต การแลกเปลี่ยนแนวคิด วิธีการปฏิบัติใน
กิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างกันเพื่อค้นหาเทคนิค วิธีการที่ดีกว่า เพื่อการลดต้นทุน ลดเวลา เช่น การจ าหน่าย
และการกระจายสินค้าทางการเกษตร การดูแลสุขภาพ การบริโภค การด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง เกิดเป็นค่านิยมร่วมกัน
บรรณานุกรม
วิรัตน์ ค าศรีจันทร์. 2554. พลังความรู้จากการวิจัยแบบ PAR. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ : ส านักพิมพ์. บริษัทพี.
เอ.ลีฟวิ่ง จ ากัด.
กิจกรรมการถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้. 2556. การเชื่อมโยงงานวิจัยเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของ
กลุ่มประเทศ CLMV. คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น.
อรัญ จิตตะเสโน และคณะ. 2555. หลักการและวิธีการบริหารจัดการชุมชน. เอกสารประกอบการเรียนรู้
ชุมชนในโครงการวิจัยและพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สุขภาวะองค์รวม ภายใต้แผน
สุขภาพจังหวัดสงขลา.