Page 281 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 281
275
คณะศิลปศาสตร์ โดยหลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์ สาขาศึกษาทั่วไป ซึ่งมีภารกิจหลักที่ส าคัญคือ
ด้านการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน และวิทยาศาสตร์บูรณาการ ซึ่งประยุกต์ใช้การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ในพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อม สามารถบูรณาการกับงานบริการวิชาการแก่ชุมชน ที่ได้องค์
ความรู้จากการวิจัยและงานสร้างสรรค์ จึงเล็งเห็นกระบวนการเสริมสร้างนวัตกรรมการสอนแบบโครงงาน
บูรณาการเรียนรู้โดยปฏิบัติงานเป็นทีม สร้างรูปแบบเครือข่ายการเรียนรู้แบบง่ายๆ ใช้ประโยชน์ได้จริง เป็น
ทักษะการเรียนรู้ที่ประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยสร้างเครือข่ายการเรียนรู้สู่ชุมชนอย่าง
ต่อเนื่อง เกิดทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม สร้างกระบวนการท างานเป็นทีมที่สลับซับซ้อน มีความริเริ่ม
สร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา มีการสื่อสารและการร่วมมือ เกิดการ
เรียนรู้การลดรายจ่าย สร้างรายได้ในโรงเรียนและชุมชน ลดการปล่อยของเสียและปัญหาวัชพืชในชุมชน สรรค์
สร้างโรงเรียนและชุมชนน่าอยู่ มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความเข้มแข็งสามารถพึ่งตนเองได้ มีความมั่นคงและยั่งยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วิธีการด าเนินงาน
นวัตกรรมการสอนแบบโครงงานบูรณาการการเรียนรู้สร้างสรรค์ชุมชน เป็นนวัตกรรมการสอนที่
ประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ วัสดุเหลือใช้ และของเสียในชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มี
การปรับปรุงกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ได้ใช้เครื่องมือการจัดการความรู้ (KM tools) เพื่อการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการแบบปฏิบัติเป็นทีมสู่การบริการวิชาการอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดเครือข่าย
การเรียนรู้ในโรงเรียนและชุมชนอย่างเข้มแข็ง ดังนี้
1. การเรียนรู้จากบทเรียน (Lesson Learning)
เป็นการเรียนรู้โดยการบรรยายและอภิปรายร่วมกันในห้องเรียนโดยจัดเป็นกลุ่มหรือทีม(7-9 คน) ร่วม
อภิปรายประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย โรงเรียนและชุมชน
ทรัพยากรธรรมชาติและการใช้ประโยชน์ การวางแผน การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การแก้ปัญหามลพิษ
ในมหาวิทยาลัย โรงเรียนและชุมชน เป็นการสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม การรับฟังความคิดเห็น การ
สัมภาษณ์และการประชุมกลุ่มย่อย โดยการตั้งค าถามและสรุปแนวทางแก้ปัญหาของแต่ละกลุ่ม ก าหนด
ระยะเวลาจัดท าโครงการเพื่อใช้แก้ปัญหา ลงข้อสรุปว่าทีมไหนต้องหาข้อมูลหรือแนวทางแก้ปัญหาประเด็น
ไหนในชุมชน โดยบูรณาการแนวทางแก้ปัญหากับครูภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างเป็นระบบ เก็บข้อมูลก่อนด าเนิน
โครงการ จัดท าเครื่องมือ และสร้างการมีส่วนร่วมการท างานในพื้นที่
2. การเรียนรู้จากการส ารวจ (Survey Learning)
การเรียนรู้จากการลงพื้นที่เป้าหมายเป็นพื้นที่ที่ผู้สอนลงไปสร้างเครือข่ายเรียนรู้จากงานวิจัย งาน
สร้างสรรค์และการบริการวิชาการแก่ชุมชน รวบรวมประเด็นปัญหาในพื้นที่ โดยน านักศึกษาเรียนรู้ภาคสนาม
เพื่อแก้ปัญหาการปรับปรุงดิน แก้ปัญหาวัสดุเหลือใช้ มูลสัตว์ วัชพืช และการลดรายจ่ายในครัวเรือน โรงเรียน
และชุมชน ซึ่งนักศึกษาเรียนรู้และท าโครงงานเพื่อแก้ปัญหาและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและ
สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
3. การทบทวนสรุปบทเรียน (After Action Review หรือ AAR)
หลังจากการเรียนรู้จากบทเรียนและการศึกษาประเด็นปัญหาในพื้นที่ ร่วมกันทบทวนการท างานตาม
โครงงานทุกขั้นตอน เพื่อการปฏิบัติการการแก้ปัญหาใน 3 กลุ่ม คือ 1) น้ า ดิน พืช (ป่าไม้) 2) เกษตร และ
พลังงานทดแทน และ 3) การจัดการขยะอินทรีย์ วัชพืช วัสดุเหลือใช้ และขยะรีไซเคิล เพื่อค้นหารูปแบบ
ปฏิบัติการสู่การเรียนรู้ตามกระบวนการเข้าใจ เข้าถึง และร่วมกันพัฒนา ผู้สอนอธิบายการเรียนการสอน ที่
สามารถสร้างการมีส่วนร่วมของนักศึกษา โดยให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มจัดการน าเสนอในลักษณะของการเรียนใน