Page 280 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 280

274


               Project  Based  Learning  (PBL)  according  to  integrate  learning  communities.  Philosophy  of
               Sufficiency Economy. By using this process taught since 2012 to date 2016, which results

               from teaching using knowledge management (KM tools) from innovative teaching projects
               that integrate continuous improvement. The learning in Man and Environment Subject, and
               Environmental and Resource Management Subject. Contributes to the achievement of the
               students in real-life situations, both academic and academic skills that benefit both directly

               and indirectly to the school and community. This form of teaching using innovative teaching
               projects and variety of teaching and assessment. The students take pride in the success of
               learning, coupled with the benefits to the community in the areas of natural resources and
               the environment. The member schools Academy Foundation, the local administration. The

               promotion of agriculture and energy, not less than 10 units, both on campus and create a
               learning community. The project activities exhibition workshop visits, workshops and relay
               events,  and  broadcast  television,  digital  media  for  the  exchange  of  knowledge  to  the
               community. Networking, learning and a strong sense of community in 3 area.

               Key words: Innovation,  Project Based Learning,  Integration,  Created learning,  community

               บทน า

                       ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษามุ่งเน้นกิจกรรมการบรรยายในห้องเรียนเป็นหลัก

               ประสิทธิภาพการเรียนรู้และการสร้างทักษะเพื่อพัฒนาผู้เรียนทั้งทางด้านวิชาการและการบริการวิชาการแก่
               สังคมไม่สัมฤทธิผล ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยได้
               พัฒนาหลักสูตรเพื่อสร้างกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์บัณฑิตนักปฏิบัติ มีการ

               ปรับกระบวนทรรศน์ในการจัดการเรียนรู้ทักษะการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มีการจัดท าแผนการเรียนรู้อย่าง
               เป็นระบบ ก็ยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ คณะศิลปศาสตร์ โดยหลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์ สาขา
               ศึกษาทั่วไป จึงจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยประยุกต์ใช้
               งานวิจัย งานสร้างสรรค์ร่วมกับงานบริการวิชาการแก่ชุมชน (คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

               มงคลศรีวิชัย, 2555) การวิจัยสู่การบริการวิชาการแก่ชุมชนเริ่มปลายทศวรรษที่ 1970 เริ่มปรากฏในงานวิจัย
               ด้านการเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคม โดยสถาบันการเรียนรู้การบริการสังคมแห่งชาติ (NSLC  :  National
               Service Learning Clearing house) กล่าวไว้ว่า การเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคมเป็นกลยุทธ์ในการสอนและ
               การเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้สู่ชุมชนด้วยการสร้างประสบการณ์ ความรับผิดชอบ และเสริมสร้างความเข้มแข็ง

               ให้กับชุมชนโดยผู้เรียน การเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคมได้แพร่หลายอย่างรวดเร็วทุกระดับการจัดการศึกษา (จุรี
               ทัพวงษ์, 2552 : 70) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการด้วยการรับใช้สังคม เป็นการเรียนรู้ที่สามารถให้
               นักศึกษามีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เป็นรูปแบบการสอนที่ไม่ใช่เป็นเพียงการถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน
               เท่านั้น แต่ยังเป็นการปลูกจิตส านึกที่ถูกต้อง มีความรับผิดชอบในเรื่องการสร้างจิตส านึกในการท างานที่ดี รู้จัก

               รักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ ซึ่งสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
               แห่งชาติ (TQF)  เน้นให้นักศึกษามีผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมใน 5 ด้าน คือ 1) ด้าน
               คุณธรรม จริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ

               ความรับผิดชอบ และ 5) ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข       การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
               สารสนเทศ (กรรยา พรรณนา, 2553)
   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285