Page 276 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 276

270


                              3) แยะแยะและจัดกลุ่มข้อมูล
                              4) เชื่อมโยงข้อมูลเพื่อหาแบบแผนและความหมาย

                              5) หาข้อสรุปที่เป็นสาระหลัก

                       2. การวิเคราะห์ข้อมูลนักวิจัยควรใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อสร้างความเชื่อถือได้ ของข้อมูลด้วยวิธีการดังนี้
                              1) การตรวจสอบสามเส้า (triangulation)

                              2) การให้ผู้ให้ข้อมูลตรวจสอบซ้ า (member checking)
                              3) การอธิบายอย่างเข้มข้น (thick description)
                              4) การระบุความล าเอียง (bias) ของนักวิจัย
                              5) การหาข้อมูลที่เป็นลบมาปฏิเสธการตีความหมายของนักวิจัย (negative case analysis)
                              6) การฝังตัวในบริบทอย่างยาวนาน (prolonged engagement)

                              7) การให้เพื่อนช่วยตรวจสอบ (peer debriefing)
                              8) การให้บุคคลภายนอกตรวจสอบ (external audit)

                       3. การสรุปผลเพื่อสร้างองค์ความรู้ในการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ สามารถท าได้โดย

                              1) การจัดกลุ่มข้อมูลตามประเด็นหลักและประเด็นย่อย
                              2) ท าตารางเปรียบเทียบข้อมูล
                              3) มองหา Concept เพื่อตอบค าถามวิจัย

                              4) เชื่อมโยงแนวคิดที่สัมพันธ์กันให้มีความหมาย
                              5) บรรยายผลที่ได้อย่างละเอียด

                       ปัจจัยแห่งความส าเร็จ   ปัจจัยที่สนับสนุนการจัดการความรู้เรื่องกลยุทธ์การสร้างงานวิจัยแบบ

               ผสมผสานนั้นสถาบันเทคโนโลยีการบินมีปัจจัยที่เอื้อให้เกิดความส าเร็จดังต่อไปนี้
                       1. ผู้บริหารของสถาบันเทคโนโลยีการบินได้ตระหนักถึงความส าคัญและสนับสนุนการจัดการความรู้
               เป็นอย่างดี โดยได้ส่งบุคลากรในการเข้าอบรมด้านการจัดการความรู้ตามแนวทางที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น
                       2. ผู้บริหารของสถาบันมีการสร้างแรงจูงใจในการท างานที่ดีท าให้บุคลากรยินดีและเต็มใจรวมทั้งเห็น

               ความส าคัญของการจัดการความรู้ด้านการวิจัย
                       3. ผู้บริหารได้เปิดโอกาสให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมอย่างอิสรเสรีโดยไม่มีการบังคับ
                       4. บุคลากรมีการท างานเป็นทีม

                       ประโยชน์ของแนวปฏิบัติที่ดีต่อการบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจของหน่วยงาน
                       ส าหรับประโยชน์ที่สถาบันเทคโนโลยีการบินได้รับจากการได้มาซึ่งแนวปฏิบัติที่ดีของกลยุทธ์การสร้าง

               งานวิจัยแบบผสมผสานนั้น ท าให้เกิดการตอบสนองต่อพันธกิจของสถาบันเทคโนโลยีการบินในเรื่องพัฒนา
               งานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมที่ได้มาตรฐานบนพื้นฐานทางด้านสังคมศาสตร์ และมีความเกี่ยวพันกับ
               ยุทธศาสตร์ที่ 2  ของสถาบันฯเรื่องการส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย  งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ที่ได้

               มาตรฐานสากล โดยบรรลุเป้าประสงค์ของสถาบันฯในเรื่อง งานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรม มีคุณภาพ
               และเป็นประโยชน์ต่อการน าไปพัฒนาชุมชน/ สังคม/ประเทศ นอกจากนี้แนวปฏิบัติที่ดียังท าให้บุคลากรของ
               สถาบันเทคโนโลยีการบินมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีความสามารถและรักในการท างานเป็นทีมและที่
               ส าคัญท าให้สถาบันเทคโนโลยีการบินเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งส่งให้ให้สถาบันเทคโนโลยีการบินมีขีด

               ความสามารถและมีศักยภาพที่เพิ่มสูงขึ้นต่อไป
   271   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281