Page 277 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 277

271


                       อุปสรรคของการด าเนินกิจกรรมจัดการความรู้
                       1. ความรับผิดชอบในภาระงานของคณาจารย์แต่ละท่านที่มีภาระการสอนและภาระงานอื่น ๆ ท าให้

               การนัดหมายในแต่ละครั้งค่อนข้างจ ากัด
                       2. ความต่อเนื่องในการด าเนินการไม่สามารถก าหนดเวลาในการนัดหมายได้อย่างชัดเจน ซึ่งใน
               บางครั้งอาจมีการการจัดการความรู้แค่เพียงครั้งเดียวภายใน 1 เดือน ซึ่งไม่เป็นไปตามตารางที่ได้ก าหนดไว้
                       ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขของการด าเนินกิจกรรมจัดการความรู้

                       การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละครั้ง ผู้รับผิดชอบกิจกรรมควรมีการวางแผนตารางการนัด
               หมายที่มีการก าหนดวันอย่างชัดเจนเพื่อให้ผู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้สามารถวางแผนได้ล่วงหน้า และก าหนดให้มี
               กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยก าหนดจ านวนครั้งในแต่ละเดือนให้มีสัดส่วนที่เท่า ๆ กันในทุกเดือน
               สรุป

                       บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการจัดการความรู้การสร้างงานวิจัยแบบผสมผสาน และผู้
               แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้สามารถน ารูปแบบแนวปฏิบัติที่ดีไปประยุกต์ใช้ในการท าวิจัยต่อไป ผู้แลกเปลี่ยนการ
               เรียนรู้ต้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่จัดขึ้นเป็นประจ าและสม่ าเสมอ และผู้บริหารรวมทั้งสมาชิกทุกคนต้องเห็น

               ความส าคัญของการแลกเปลี่ยนอันเกิดจากสมาชิกทุกคนช่วยกันแสดงความเห็นเกี่ยวกับประสบการณ์ จากการ
               แลกเปลี่ยนการจัดการความรู้งานวิจัยแบบผสมผสานในครั้งนี้สามารถสรุปเป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ดังนี้

                       สรุปกลยุทธ์การสร้างงานวิจัยแบบผสมผสาน
                       1. การศึกษาวิจัยแบบผสมผสานนักวิจัยต้องก าหนดเนื้อหาที่ชัดเจนเพื่อสร้างกรอบแนวคิด รวมทั้ง
               ออกแบบขั้นตอนในการศึกษาวิจัยที่มีความเหมาะสม
                       2. การวิจัยแบบผสมผสานนักวิจัยสามารถเลือกวิธีการเชิงปริมาณหรือคุณภาพขึ้นก่อนก็ได้

                       3. การด าเนินการศึกษาวิจัยแบบผสมผสานนั้น มีเครื่องมือที่ส าคัญอยู่สองประเภทที่นักวิจัยส่วนใหญ่
               เลือกใช้คือ แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม
                       4. การเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยแบบผสมผสานนั้น วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพกลุ่ม
               ตัวอย่างที่เป็นผู้ให้ข้อมูลจะมีจ านวนไม่มากเมื่อเทียบกับการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ



























                                     ภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการสร้างงานวิจัยแบบผสมผสาน
   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281   282