Page 346 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 346

340


               ผลิตภัณฑ์สินค้ามีความแข็งแรง ทนทาน ไม่แตกร้าว ไม่บิดเบี้ยว ลวดลายคมชัดตามแบบหล่อ ส่งผลให้เพิ่ม
               ศักยภาพในการแข่งขัน ชุมชนมีรายได้ มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน


                       ปัจจัยที่ท าให้เกิดผลส าเร็จ

                          •  รู้ความต้องการ ความคาดหวัง ของชุมชน

                          •  สามารถตอบสนองความต้องการ ความหวังของชุมชน
                          •  อาจารย์มีประสบการณ์ตรงและมีความเชี่ยวชาญ

                          •  องค์ความรู้จากงานวิจัยที่สามารถน าไปปรับประยุกต์ใช้ประโยชน์
                          •  น้ ายาโฟมส าหรับผลิตคอนกรีตมวลเบา
                          •  ความหนาแน่นลดลง น้ าหนักลดลง

                          •  คิดค้น ปรับประยุกต์ เพื่อท าให้เกิดการปรับปรุง และสร้างนวัตกรรมใหม่
                          •  การประสานความร่วมมือของหน่วยงานในมหาวิทยาลัยกับองค์การบริหารส่วนต าบลและ
                              ชาวบ้านในชุมชน


                       ปัญหาและอุปสรรค
                       ปัญหาและอุปสรรคของชาวบ้านชุมชนหนองโสนจ านวนหนึ่งคือขาดแคลนเงินทุนที่จะน าไปซื้อ
               อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในกระบวนการผลิต คือ เครื่องฉีดโฟมและปั๊มลม หากชาวบ้านเหล่านั้นขายสินค้าที่เป็นชิ้น

               เล็กๆ เช่น ของที่ระลึกรูปทรงต่างๆ ที่ขายในราคาถูก อาจต้องใช้ระยะเวลาในการคืนต้นทุนค่าอุปกรณ์ แต่ถ้า
               หากสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดใหญ่และน้ าหนักมากก็คุ้มค่ากับการลงทุน รายละเอียดปัญหาและอุปสรรค
               และแนวทางแก้ไข ดังแสดงในตารางที่ 3


                       ตารางที่ 3 ประเด็นปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข

                        ประเด็น                ปัญหา/อุปสรรค               แนวทางแก้ไข
               ต้องมีอุปกรณ์ที่ใช้ใน      ต้องซื้ออุปกรณ์เพิ่ม 2    ควรประยุกต์ใช้กับสินค้าที่มี

               กระบวนการผลิตเพิ่มขึ้น 2   รายการ ต้นทุนประมาณ       ขนาดกลางและขนาดใหญ่
               รายการ ได้แก่  ปั้มลม และ   15,000 บาท
               เครื่องฉีดโฟม


               สรุป

                       จากผลการส ารวจความต้องการของชุมชนหนองโสน พบว่าประเด็นปัญหาสินค้ามีน้ าหนักมาก
               ประมาณ 2 ตัน/ชิ้น ส่งผลกระทบต่อการขนย้าย และการขนส่งท าให้มีต้นทุนและค่าใช้จ่ายสูง แล้วน าไปสู่
               ประเด็นในการน าองค์ความรู้จากผู้มีประสบการณ์ตรงคืออาจารย์และองค์ความรู้จากผลงานวิจัย จัดกิจกรรม

               แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกัดความรู้ แล้วน าไปใช้ประโยชน์โดยออกให้บริการวิชาการแก่ชุมชนหนองโสน โดยการน า
               องค์ความรู้ไปปรับปรุงกระบวนการผลิต และพัฒนาสัดส่วนผสมใหม่ เพื่อให้สินค้ามีน้ าหนักเบา ซึ่งเคล็ดลับที่
               ส่งผลให้ประสบความส าเร็จในการจัดการความรู้ครั้งนี้คือ มีผู้มีประสบการณ์ตรงที่มีความเชี่ยวชาญ รวมทั้งได้
               ปรับปรุงกระบวนการผลิตและออกแบบพัฒนาสัดส่วนผสมใหม่โดยการเพิ่มน้ ายาโฟม เพื่อท าให้คอนกรีตเกิด
               ฟองอากาศท าให้คอนกรีตมีน้ าหนักเบาแต่ยังคงความแข็งแรง สวยงาม ท างานได้ง่ายขึ้น ส่งผลให้ลดต้นทุนวัสดุ
   341   342   343   344   345   346   347   348   349   350   351