Page 349 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 349

343


               exchange knowledge, tacit knowledge on website and social media is used. The target staff
               can access knowledge and apply to teaching.

                       The results of it knowledge management consist of thinking, resolving a of problem,
               practical skills, and techniques for teaching. The ranking of technique was found that: firstly,
               technique of digital learning and knowledge learning are the best 61.54 percent. The second
               technique is work group or 38.46 percents, the third order are assessment for 21st Century

               learning and social network 30.77 percent the forth is mapping technique or 23.08 percent.
               Finally,  technique  of  role  playing  is  15.38  percent.  Teachers  have  developed  teaching
               techniques to consistent with student and there are interested in learning more. As a result,
               the implementation of knowledge management is the overall benefit an organization and it

               is a good level interpreted as.

                                                           st
               Key words: Knowledge management, the 21  Century Learning, Digital learning, Mapping


               บทน า
                       คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขต

               จักรพงษภูวนารถ มีพันธกิจทางด้านวิชาการ การพัฒนางานวิจัย บริการวิชาการแก่ชุมชน และท านุบ ารุง
               ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ซึ่งในแต่ละปีการศึกษามีบุคลากรได้รับการบรรจุเข้าท างานใหม่อย่างต่อเนื่อง บุคลากร
               ใหม่ต้องมาเรียนรู้งานและต้องใช้เวลาในการศึกษาให้เข้าใจในวิธีการท างาน และลักษณะงานแต่ละภารกิจต้อง

               ใช้ทักษะ และความรู้ความช านาญหลายด้านในการปฏิบัติงาน  เช่น  ความรู้ทางวิชาการ  และการวิจัย ทาง
               คณะฯ จึงต้องการที่จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเป็นการถ่ายทอดประสบการณ์การท างาน และแลกเปลี่ยน
               ปัญหา อุปสรรคในการท างาน และการปรับเปลี่ยนแก้ไข อีกทั้งเทคโนโลยีในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงที่
               รวดเร็ว จึงต้องมีการปรับเทคนิคการเรียนการสอนเพื่อสนับสนุนต่อผู้เรียน ผลิตบัณฑิตให้สามารถรองรับกับ

               การประกอบอาชีพในปัจจุบัน และสามารถใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการท างานหรือการสื่อสาร
               ระหว่างองค์กรได้

                       คณะบริหารฯ ได้ให้ความส าคัญกับการสร้างและพัฒนาหน่วยงานฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้
               เพื่อมุ่งสู่สถาบันแห่งการเรียนรู้ โดยมีการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในสถาบัน ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล
               หรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้คณาจารย์ทุกคนในสถาบันสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเอง

               ให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้คณะบริหารฯ มีความสามารถในการแข่งขัน
               สูงสุด กระบวนการบริหารจัดการความรู้ในคณะบริหารฯ ประกอบด้วย การระบุความรู้ การคัดเลือก การ
               รวบรวม การจัดเก็บความรู้ การเข้าถึงข้อมูล และการแลกเปลี่ยนความรู้ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยฯ
               การสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ภายในสถาบัน  การก าหนดแนวปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้

               เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัยฯ ให้ดียิ่งขึ้น

                       คณะฯ จึงได้จัดให้มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ด้านการเรียนการสอน ในประเด็นความรู้ การผลิต
               บัณฑิตนักปฏิบัติ  เพื่อให้คณาจารย์มีความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเทคนิควิธีการสอนเพื่อไปพัฒนา
               กระบวนการเรียนการสอน การผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ   ซึ่งเป็นการ

               พัฒนาองค์ความรู้จากการจัดการความรู้จากปีที่ผ่านมา เก็บบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นแหล่งข้อมูลใน
               การศึกษาค้นคว้า แลกเปลี่ยนความรู้ ท าให้หน่วยงานเป็นแหล่งแห่งการเรียนรู้และพัฒนาตลอดเวลา
   344   345   346   347   348   349   350   351   352   353   354