Page 43 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 43
37
สรุป
การด าเนินโครงการวิจัยการพัฒนาแบบฝึกการอ่านร้อยกรองเป็นท านอง เพลงเรือ) ส าหรับนักเรียนชั้น )
ประถมศึกษาปีที่โรงเรียนวัดไผ่โสมนรินทร์ 1 - 6 และโรงเรียนเทศบาลวัดตองปุ ต าบลบ้านเกาะ อ าเภอ
พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นี้กล่าวได้ว่าคณะผู้วิจัยได้ถ่ายทอดกระบวนการการเรียนรู้ประเพณี
อันล้ าค่าเรื่องเพลงเรือ ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติในการบูรณาการเรียนการสอนการวิจัย และท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม
ด้วยเพลงเรือ โดยตระหนักในคุณค่าต่างๆที่ว่า เพลงพื้นบ้านประเภทเพลงเรือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดมา
หลายชั่วอายุคน อยู่คู่กับวิถีชีวิตริมน้ าของชุมชนคนอยุธยามาอย่างยาวนาน และควรสืบทอดให้คงอยู่ถึงปัจจุบัน
การด าเนินโครงการวิจัย การพัฒนาแบบฝึกการอ่านร้อยกรองเป็นท านอง เพลงเรือ ( )ในอ าเภอพระนคร-
ศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยานี้ จึงสร้างขึ้นด้วยใจรักและพร้อมเผยแพร่วิธีวิจัย (KM) ต่อไปอย่างยั่งยืน โดย
มีความท้าทายต่อไปในการด าเนินงานคือ การใช้วิธีการตามแบบฝึกนี้สร้างเป็นแบบฝึกร้องเพลงพื้นบ้านอื่นๆ และ
จัดการความรู้ถ่ายทอดไปสู่ผู้อื่น อันจะเกิดผลให้ทุกฝ่ายท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมได้อย่างยั่งยืน
บรรณานุกรม
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. 2554. องค์ความรู้ดนตรีและการแสดงพื้นบ้าน . กรุงเทพฯ:
องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์ .
มนต์เทียน สคูลนี. 2553 .รูปแบบการอนุรักษ์อัตลักษณ์ชุมชนท้องถิ่นศิลปะเพลงพื้นบ้านล าตัดขององค์การบริหาร
ส่วนต าบลหน้าไม้ อ าเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี . รายงานการศึกษาอิสระปริญญารัฐ
ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
.สุกัญญา ภัทราชัย. 2538 .วรรณคดีท้องถิ่นพินิจ กรุงเทพ ฯ . จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภาพร มากแจ้ง. 2535. กวีนิพนธ์ไทย 1. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ยุพา ยิ้มพงษ์. 2522. การสร้างแบบฝึกการเขียนค าที่ใช้อักษรควบ ร ล และว ส าหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อาภรณ์ สุนทรวาท . 2555. เพลงพื้นบ้านราชบุรี สืบสานสู่ลูกหลานและการส : ืสารร่วมสมัย ภายใต้ชุดโครงการ
เรื่อง การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นราชบุรีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนบนแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง .
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง, เพชรบุรี.