Page 50 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 50

44


                            4. นักศึกษาด าเนินการจ าหน่ายสินค้าในชุมชน มีรายละเอียด ดังนี้
                              4.1 การจ าหน่ายสินค้าในชุมชน (ปฏิบัติงานเป็นกลุ่ม) นักศึกษาต้องท าการออกแบบหน้าร้าน

               และป้ายร้าน การจัดวางสินค้า กลยุทธ์ในการจ าหน่ายสินค้า การแบ่งหน้าที่กันภายในกลุ่ม อาจารย์ท าหน้าที่
               สังเกตการณ์และเปิดโอกาสให้นักศึกษาด าเนินการอย่างอิสระ













                                            ภาพที่ 6 ปฏิบัติการจ าหน่ายสินค้าในชุมชน

                            4.2   การวัดและประเมินผล โดยอาจารย์ผู้สอน ตัวแทนชุมชนและลูกค้าในพื้นที่ เพื่อให้คะแนน
               การจัดกิจกรรมของนักศึกษา

                       5. นักศึกษาร่วมกันอภิปรายผลการทดลองจ าหน่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้แบ่งปันประสบการณ์ที่ได้จากการ
               ขายสินค้า ในช่วงเย็นหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม เพื่อทบทวนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะวิกฤต ปัญหาที่พบและ
               การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของนักศึกษา ตลอดจนการค้นพบจุดอ่อนและจุดแข็งของสินค้าและการขาย รวมทั้งข้อ
               ควรระวังและไม่ควรมองข้าม ซึ่งเป็นขั้นตอนที่อยู่ภายใต้เครื่องมือการจัดการความรู้ “การทบทวนหลังการปฏิบัติ”

                       6. นักศึกษาจัดท ารูปเล่มรายงาน เพื่อสรุปผลองค์ความรู้ที่ได้ทั้งหมด และหลังจากที่ได้ด าเนินการตาม
               กระบวนการทั้งแล้ว พบว่า การจัดท ารูปเล่มรายงานก็ได้ถูกออกแบบให้เข้ากันกับตัวสินค้าไปโดยอัตโนมัติ








                                  ภาพที่ 7 รูปเล่มรายงาน ภายหลังจากด าเนินตามกระบวนการทั้งหมด
               กระบวนการที่ 5 : ผู้เรียนสรุปองค์ความรู้ที่ได้ ผู้สอนท าหน้าที่ให้ค าปรึกษา
                       นักศึกษาร่วมกันถอดบทเรียนที่ได้จากกระบวนการท างานทั้งหมดและชี้ให้เห็นถึงความส าคัญของการใช้

               ความคิดสร้างสรรค์ (creative thinking) ร่วมกับการใช้ความคิดเชิงวิจารญาณ (critical thinking) ในกิจกรรมการ
               เรียนรู้เพื่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูชุมชน ซึ่งเป็นหัวใจส าคัญประการหนึ่งของศาสตร์ด้านสถาปัตยกรรมผังเมือง
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55