Page 58 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 58

52


               ภายนอกมหาวิทยาลัยเพื่อก าหนดประเด็นวิจัยที่ตอบสนองความต้องการของพื้นที่  ประสานงานนักวิจัยเพื่อพัฒนา
               ข้อเสนอโครงการวิจัยที่ตอบสนองความต้องการของพื้นที่ ส่งเสริม สนับสนุน และสร้างบรรยากาศการวิจัยให้เกิด

               การบูรณาการพันธกิจ มีทีมวิจัยสหวิชาการที่ท างานด้วยกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม  ให้ได้ผลงานวิจัยที่ใช้
               แก้ปัญหา หรือตอบสนองความต้องการของพื้นที่ ติดตามผลการด าเนินงาน และน าข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบ
               การบริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิจากส านักงานกองทุนสนับสนุนการ
               วิจัย (สกว.) เป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) แนะน าวิธีการท างาน ช่วยเหลือสนับสนุน และให้ค าปรึกษาชี้แนะ

                       การพัฒนาระบบได้ก าหนดขั้นตอนของระบบวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ และมีการจัดการที่ส าคัญ ได้แก่

                       -การก าหนดพื้นที่เป้าหมายการพัฒนา 2 ต าบล ได้แก่ ต าบลทับน้ า อ าเภอบางปะหัน ต าบลสามเรือน

               อ าเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

                       -การน านักวิจัยลงพื้นที่เพื่อร่วมวิเคราะห์ศักยภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนาของพื้นที่เป้าหมาย
               โดยกระบวนการมีส่วนร่วม ด้วยเครื่องมือศึกษาชุมชนแบบมีส่วนร่วม  โดยความร่วมมือกับองค์การบริหารส่วน
               ต าบล และภาคีหน่วยงานในพื้นที่ เช่น ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ส านักงานเกษตรอ าเภอ พัฒนาชุมชน
               เป็นต้น

                       - การสังเคราะห์และก าหนดประเด็นการวิจัย โดยใช้ SWOT analysis และ LOG Frame เพื่อจัดล าดับ

               ความส าคัญของปัญหา ตามระดับความรุนแรงหรือจ าเป็น ความสามารถในการพึ่งตนเองของชุมชนในการ
               แก้ปัญหา ความพร้อมของนักวิจัย ระยะเวลาด าเนินงานที่เหมาะสม และมีผู้ใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยชัดเจน
               เพื่อประกาศรับข้อเสนอโครงการวิจัยและจัดสรรทุนวิจัย

                       - การรวมกลุ่มนักวิจัย เป็นทีมข้ามสาขาวิชาการ เพื่อพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัย โดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิ

               จากส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ให้ความรู้การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยและให้ค าแนะน าเพื่อ
               พัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัย

                       - การพัฒนานักวิจัย ที่รวมกลุ่มท างานร่วมกันในพื้นที่เป้าหมาย เป็นชุมชนนักปฏิบัติ (Communities
               of  Practice  หรือ CoP)  ท างานวิจัยแบบมีส่วนร่วมกับชุมชนเป้าหมาย โดยมีนักวิจัยที่มีประสบการณ์ช่วยให้
               ค าปรึกษาลักษณะ เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist) นักวิจัยมีการตั้งกลุ่ม Line กลุ่ม RUS วิชาการเพื่อสังคม

               เพื่อเป็นช่องทางสื่อสารภายในกลุ่มและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม

                       -ระหว่างการวิจัย มีการจัดประชุมเพื่อก าหนดเป้าหมายการท างานร่วมกันในพื้นที่ การประชุมเพื่อรายงาน
               ความก้าวหน้าการวิจัยระยะ 3  เดือน และการน าเสนอผลงานวิจัย เพื่อเป็นเวทีส าหรับการแลกเปลี่ยนความรู้
               (Knowledge  Forum) ระหว่างนักวิจัยด้วยกัน และระหว่างนักวิจัยกับผู้ทรงคุณวุฒิ สกว. และผู้ใช้ประโยชน์
               ผลงานวิจัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยฯ ยังจัดกิจกรรมพัฒนานักวิจัยเพื่อเพิ่มทักษะการวิจัย ในด้านกระบวนการวิจัย

               แบบมีส่วนร่วม โดยผู้ทรงคุณวุฒิจากส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และทักษะการเขียนบทความ
               วิชาการเพื่อเผยแพร่ในวารสารวิชาการเพื่อสังคม โดยผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบันคลังสมองของชาติ

                       - จัดศึกษาดูงาน (Study tour) แก่ผู้ประสานงานวิจัย เพื่อศึกษาระบบ กลไกการจัดการงานวิจัย และ
               ถอดบทเรียนปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จของงานวิชาการเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิษถ์
               และมหาวิทยาลัยพะเยา และศึกษาดูงานความส าเร็จของงานวิจัยท้องถิ่น ที่พัฒนาให้คนในชุมชนเป็นนักวิจัย
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63