Page 60 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 60
54
มีโครงการที่พัฒนาโดยใช้โจทย์ปัญหา ความต้องการพัฒนาของพื้นที่ในปีที่ 1 จ านวน 14 โครงการ และปีที่ 2
จ านวน 17 โครงการ มีนักวิจัยจาก 5 คณะเข้าร่วมโครงการจ านวน 73 คน เป็นนักวิจัยใหม่ 64 คน ผลงานวิจัย
ในปีแรกสามารถน าเสนอในการประชุมและตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
จ านวน 6 บทความ อยู่ระหว่างการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ จ านวน 1 บทความ ระดับนานาชาติ
1 บทความ อยู่ระหว่างการยื่นขอสิทธิบัตร 1 ผลงาน นอกจากการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ยังมีการจัดกิจกรรม
ร่วมกับภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด เช่น การจัดงานวันมันเทศ ต าบลทับน้ า และวันเห็ดตับเต่างามที่สามเรือน ด้วย
งบประมาณของจังหวัดและท้องถิ่น ท าให้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการตื่นตัวเข้าร่วมกิจกรรม
วิชาการ และน าข้อมูลและความรู้จากการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น จัดท าแผนพัฒนาต าบลในด้านการ
พัฒนากลุ่มอาชีพ การจัดการท่องเที่ยวในชุมชน การรวมกลุ่มเพื่อประกอบอาชีพแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมันเทศ และ
เห็ดตับเต่า การรวมกลุ่มเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติแหล่งน้ าในชุมชน และยังท าให้เกิดกิจกรรมทางวิชาการ
ร่วมกับองค์กรภาคีเครือข่าย เช่น ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เครือข่ายนักวิจัย
ท้องถิ่น เครือข่ายภาคประชาสังคม และหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท าให้เกิดบรรยากาศทาง
วิชาการ เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยฯ ที่สามารถกระตุ้นให้บุคคลากรในมหาวิทยาลัยมีความตื่นตัว
และนักวิจัยได้ท าความรู้จักกับนักวิจัยท้องถิ่น ผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลพื้นฐานเพื่อการ
พัฒนา ขณะเดียวกันยังท าให้ชุมชน สังคม ได้เห็นว่านักวิชาการและงานวิชาการในมหาวิทยาลัยไม่แยกตัวออกจาก
ชุมชน สังคม ซึ่งจะน าไปสู่การประสานงานและความร่วมมือในการร่วมกันพัฒนาจังหวัดต่อไปในอนาคต
ปัจจัยที่ท าให้เกิดผลส าเร็จ ปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข
มนตรีและกัณภร (2559) ได้ประเมินระบบและกลไกการบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ โดย
ประเมิน 1) ปัจจัยน าเข้าซึ่งวัดผลจากระบบและกลไกการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย จ านวน 2 ตัวชี้วัด ได้แก่
ตัวชี้วัดที่ 1.1 การก าหนดพื้นที่เป้าหมายและการพัฒนาโจทย์วิจัย และ 1.2 การเปิดรับข้อเสนอและจัดสรร
ทุนอุดหนุนการวิจัย ทั้ง 2 ตัวชี้วัดผ่านเกณฑ์การประเมินมีความเหมาะสมในระดับดีมาก 2) ประเมินกระบวนการ
วัดผลจากระบบและกลไกการหนุนเสริมการด าเนินงานวิจัย จ านวน 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ 2.1 การเบิกจ่าย
ทุนอุดหนุนการวิจัย ตัวชี้วัดที่ 2.2 การประสานงาน ตัวชี้วัดที่ 2.3 กระบวนการติดตามความก้าวหน้า ตัวชี้วัดที่
2.4 การหนุนเสริมความร่วมมือกับเครือข่าย/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ และตัวชี้วัดที่ 2.5 กิจกรรมหนุนเสริม
นักวิจัย ทั้ง 5 ตัวชี้วัดมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด และ 3) ประเมินผลผลิต วัดผลจากผลการ
ด าเนินงาน จ านวน 6 ตัวชี้วัด ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ 3.1 จ านวนโครงการวิจัยที่สนองความต้องการที่แท้จริงของพื้นที่ มี
12 โครงการ ตัวชี้วัดที่ 3.2 จ านวนนักวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่รุ่นใหม่ที่มีส่วนร่วมด าเนินการวิจัยจ านวน 53 คน
ตัวชี้วัดที่ 3.3 จ านวนผลงานวิจัยที่แล้วเสร็จตามก าหนดเวลา มีจ านวน 13 โครงการ ตัวชี้วัดที่ 3.4 จ านวนผลงาน
วิชาการที่เกิดขึ้นและคาดว่าจะเกิดขึ้น มีจ านวน 22 ผลงาน ตัวชี้วัดที่ 3.5 จ านวนโครงการวิจัยที่ตอบสนองความ
ต้องการของพื้นที่พร้อมขยายผลสู่การน าไปใช้ประโยชน์ มีจ านวน 9 โครงการ และตัวชี้วัดที่ 3.6 จ านวน
โครงการวิจัยที่มีการเชื่อมโยงกับการเรียนการสอน การบริการวิชาการ หรือการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมมีจ านวน
11 โครงการ แสดงให้เห็นว่า ระบบและกลไกการบริหารจัดการงานวิจัย มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน
ในทุกตัวชี้วัด ซึ่งปัจจัยที่ท าให้เกิดผลส าเร็จ ได้แก่
- การสนับสนุนจากฝ่ายบริหารในทุกระดับ ในการสนับสนุนงบประมาณ การอ านวยความสะดวกและ
ส่งเสริมกิจกรรมต่าง ท าให้เกิดบรรยากาศวิชาการและสร้างขวัญก าลังใจแก่คณะท างานและนักวิจัย อย่างไรก็ตาม