Page 56 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 56

50


               publishing in an academic journal as well as developing the community. However, the system
               should be continuously developed for working improvement and supporting.


               Key words:  Research system,   Research management unit,   Knowledge management,  Social
                           engagement scholarship

               บทน า


                       มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ได้มีการพัฒนางานตามพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษาอย่าง
               ต่อเนื่อง โดยให้ความส าคัญกับชุมชน และสังคม ดังที่ก าหนดไว้เป็นวิสัยทัศน์ “มหาวิทยาลัยชั้นน าด้านวิชาชีพและ
               เทคโนโลยีเพื่อชุมชน สังคม ประเทศ และนานาชาติ” และตระหนักถึงความส าคัญของงานวิจัยและงานบริการ
               วิชาการที่เป็นกลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยชั้นน าเพื่อสังคม โดยน าองค์ความรู้ เทคโนโลยี

               จากการวิจัย พัฒนาเป็นนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชนและสังคม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม เกิด
               ผลลัพธ์และผลกระทบที่ประเมินได้ ตามหลักพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม (วิจิตร, 2557)  ซึ่งจะเป็น
               บทบาทส าคัญของสถาบันอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับแนวคิดการปฏิรูปประเทศ 20 ปี ที่จะกระจายอ านาจลงสู่ฐาน

               จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
                       ระบบและกลไก ตามค านิยามศัพท์ที่ใช้ในตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระบบ หมายถึง

               ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีการก าหนดอย่างชัดเจนว่าต้องท าอะไรบ้างเพื่อให้ได้ผลออกมาตามที่ต้องการ
               องค์ประกอบของระบบประกอบด้วยปัจจัยน าเข้า (Input)  กระบวนการ (Process) ผลผลิตและข้อมูลป้อนกลับ
               (Feedback) ซึ่งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน การขับเคลื่อนหรือท าให้ระบบด าเนินการอยู่ได้ต้องอาศัยกลไก ซึ่งต้อง

               มีการจัดสรรทรัพยากร มีการจัดองค์กร หน่วยงาน หรือกลุ่มบุคคลเป็นผู้ด าเนินงาน (สกอ. 2553) ระบบและกลไก
               งานวิจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ มีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ขับเคลื่อนโดยมี
               สถาบันวิจัยและพัฒนา เป็นหน่วยงานกลางท าหน้าที่ประสานงานกับคณะต่างๆ เพื่อบริหารจัดการระบบให้บรรลุ
               เป้าหมายตามนโยบายของมหาวิทยาลัย มีกลไกส าคัญที่ขับเคลื่อนให้ระบบท างาน ได้แก่ ระเบียบว่าด้วยการใช้จ่าย
               งบประมาณอุดหนุนการวิจัย กองทุนส่งเสริมการวิจัยจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย  มีคณะกรรมการบริหาร

               กองทุนส่งเสริมการวิจัย ท าให้มหาวิทยาลัยฯ สามารถผลิตผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่เพิ่มขึ้น แต่ผลงานวิจัยที่
               สามารถน าไปใช้ประโยชน์เพื่อการพัฒนาชุมชนและสังคมยังมีจ านวนน้อย (ส านักงานประกันคุณภาพการศึกษา,
               2558) ซึ่งสาเหตุทั่วไปเกิดจาก 1)  โจทย์วิจัยไม่ได้มาจากปัญหาที่แท้จริงของชุมชน สังคม 2)  ผลงานวิจัยไม่

               เหมาะสมกับบริบทของชุมชน ไม่สามารถใช้ได้กับสภาพพื้นที่จริง 3) ไม่มีผู้น าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์  4)
               งานวิจัยไม่มีคุณภาพ และ 5) การจัดการงานวิจัยและงานบริการทางวิชาการมีลักษณะแยกส่วนกันท างาน เป็นต้น
               (ระวีวรรณและคณะ, 2558)

                       เมื่อวิเคราะห์ระบบ กลไก และการจัดการงานวิจัยพบว่า ระบบการบริหารงานวิจัยของมหาวิทยาลัย มี
               ลักษณะเป็นระบบปิดที่เกี่ยวข้องเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัย และประชาคมวิจัยที่อยู่เฉพาะวงวิชาการ การวัด

               ความส าเร็จของการวิจัยจึงเน้นจ านวนผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในรายงานการประชุมวิชาการและ
               วารสารวิชาการเป็นหลัก และให้ความส าคัญน้อยกับงานวิจัยที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่
               โดยตรง ทั้งนี้อาจเนื่องจากยังไม่มีกลไกการวัดความส าเร็จที่เห็นผลได้อย่างชัดเจน และไม่มีระบบติดตามประเมิน
               ผลลัพธ์และผลกระทบจากการวิจัย การบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อให้มีการน าผลงานไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61