Page 62 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 62

56


                       - ควรพัฒนากระบวนการหรือขั้นตอนเพื่อหนุนเสริมให้เกิดการเชื่อมโยงกับการเรียนการสอน การบริการ
               วิชาการ หรือการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม รวมถึงการเก็บหลักฐานต่างๆ เพื่อใช้ในระบบประกันคุณภาพการศึกษา

               ตามตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยต่อไป


               สรุป
                       ระบบ กลไก และการจัดการงานวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ จะเป็นกลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่

               การเป็นมหาวิทยาลัยรับใช้สังคม เป็นที่พึ่งทางวิชาการ โดยเฉพาะในสาขาวิชาการที่มหาวิทยาลัยมีความเชี่ยวชาญ
               การพัฒนาระบบ กลไก และการจัดการงานวิจัย ผ่านการเรียนรู้จากการปฏิบัติ โดยมี ส านักงานกองทุนสนับสนุน
               การวิจัย (สกว.) และสถาบันคลังสมองของชาติ เป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) แนะน าวิธีการท างาน ช่วยเหลือสนับสนุน
               และให้ค าปรึกษาชี้แนะ ในลักษณะการสอนงาน (Coaching) และใช้เครื่องมือจัดการความรู้ผสมผสานเพื่อสร้าง

               การเรียนรู้ระหว่างนักวิจัย ชุมชน หน่วยงานภาคี ท าให้ทุกฝ่ายมีความเข้าใจในระบบงานไปในทิศทางเดียวกัน การ
               จัดการงานวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยจัดการงานตลอดห่วงโซ่ตั้งแต่ต้นทาง เพื่อก าหนดพื้นที่ วิเคราะห์และสกัด
               โจทย์วิจัยโดยมีผู้ใช้ประโยชน์และผู้เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม ร่วมกับการพัฒนานักวิจัยระหว่างท าวิจัยเพื่อเสริม

               ทักษะการท างานแบบมีส่วนร่วม และการจัดการปลายทางเพื่อให้ผลงานวิจัยสามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งทาง
               วิชาการและใช้แก้ปัญหาในชุมชน ท าให้ผลงานวิจัยมีคุณค่าทางวิชาการและใช้ประโยชน์ได้จริง อย่างไรก็ตามความ
               ยั่งยืนของระบบต้องมีการพัฒนาต่อเนื่อง และยกระดับการท างานเพื่อให้เกิดผลกระทบในวงกว้าง

               บรรณานุกรม


               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. 2559. แนวความคิดการเขียนบทความ “แนวปฏิบัติที่ดี” เพื่อน าเสนอ
                       ในการประชุม สัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันการพลศึกษา
                       และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 9 “ชุมชนนักปฏิบัติ สู่การจัดการความรู้ ในศตวรรษที่ 21” ระหว่าง

                       วันที่ 2 – 5 กุมภาพันธ์ 2559 ณ โรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิว จังหวัดเชียงใหม่. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เดือน
                       ตุลาคม พ.ศ. 2559    http://www.kaewpanya.rmutl.ac.th/rmutkm/index.php/14-2016-9th-
                       rmut-km/9th-rmutlkm-general-information/about-km

               มนตรี  สังข์ทอง และ กัณภร  ยั่งยืน.  2559.  การประเมินระบบและกลไกการบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วย
                       นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน.  รายงานการวิจัย. ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและมหาวิทยาลัย

                       เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ, พระนครศรีอยุธยา.

               ระวีวรรณ สุวรรณศร กิตติ บุญเลิศนิรันดร์ รวีวรรณ เดื่อมขันมณี มนตรี สังข์ทอง ธารนี  นวัสนธี และสาโรจน์ ยิ้ม
                       ถิน. 2558. การปรับปรุงระบบการจัดการงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่จังหวัดนนทบุรี สุพรรณบุรี และ
                       พระนครศรีอยุธยา. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และมหาวิทยาลัย
                       เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ,  พระนครศรีอยุธยา.


               วิจิตร ศรีสอ้าน. 2557.  Engagement Thailand.  EnT Digest ฉบับปฐมฤกษ์: 1-3
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67