Page 33 - 5-15officerleave
P. 33
30
การได้รับค่าตอบแทนระหว่างลา
พนักงานมหาวิทยาลัยที่ลาไปช่วยเหลือภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายให้ได้รับค่าตอบแทนระหว่างลา
ไม่เกินระยะเวลาตามสิทธิการลาที่ได้รับอนุญาต ไม่เกิน 15 วันท าการ
ตัวอย่าง
- นายสมบัติ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย มิได้จดทะเบียนสมรสกับภริยา ไม่สามารถลาไปช่วยเหลือ
ภริยาที่ที่คลอดบุตรได้ เนื่องจาก ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารงานบุคคลส าหรับพนักงานมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ว่าด้วยวันเวลาท างาน หลักเกณฑ์การลา และการจ่ายค่าตอบแทนระหว่างลา
ของพนักงานมหาวิทยาลัย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555 ข้อ 18/1 พนักงานมหาวิทยลัยซึ่งประสงค์จะลา
ไปช่วยเหลือภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายที่คลอดบุตร ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามล าดับ
จนถึงผู้มีอ านาจอนุญาตก่อนหรือในวันที่ลาภายใน 90 วัน นับแต่วันที่คลอดบุตร ดังนั้น พนักงานมหาวิทยาลัย
ที่จะใช้สิทธิการลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตรได้ตามนัยระเบียบฯ ข้อ 18/1 ภริยาที่คลอดบุตรของ
พนักงานมหาวิทยาลัยผู้นั้นจะต้องเป็นภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย (จดทะเบียนสมรสตามกฎหมาย) เท่านั้น
- นายสมนึก เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับ น.ส.สมหญิง น.ส.สมหญิง
จึงมิใช่ภรรยาที่ชอบด้วยกฎหมายของ นายสมนึก แต่ถ้าหากนายสมนึก จดทะเบียนรับรองบุตรที่เกิดกับ
น.ส.สมหญิง นายสมนึก ไม่สามารถใช้สิทธิลาไปช่วยเหลือภริยา (น.ส.สมหญิง) ที่คลอดบุตรได้
- นายสมชาย เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ได้จดทะเบียนสมรสกับ นางสมใจ ต่อมา นางสมใจ
ั
ภริยาของ นายสมชาย คลอดบุตรวันที่ 28 กุมภาพนธ์ มีสิทธิในการเสนอใบลา (ยื่นใบลา) ไปช่วยเหลือภริยา
ั
ที่คลอดบุตร เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 28 กุมภาพนธ์ ซึ่งเป็นวันที่ภริยาคลอดบุตร โดยจะต้องเสนอใบลาภายใน
90 วันนับแต่วันที่ 28 กุมภาพนธ์ หากพนก าหนดเวลาดังกล่าวแล้ว การเสนอใบลาเกินระยะเวลา 90 วัน
ั
้
นับแต่วันที่ภริยาคลอดบุตร กรณีนี้ผู้มีอ านาจอนุญาตไม่อาจอนุญาตให้ลาได้
คู่มือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการลาของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ส านักประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร