Page 268 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 268

262


               ผลการด าเนินงาน

                       ได้รวบรวมผลการด าเนินงานโดยมีขั้นตอนการเชิดรูปครูหนังตะลุง(ฤาษี)  ดังนี้
                       1.  ล่อไม้เท้าทางด้านขวามือ โดยให้เงาของไม้เท้า ผ่านมุมจอส่วนบนด้านขวา (ท าจังหวะ) หลบรูป
                       2.  ล่อไม้เท้าทางด้านซ้ายมือ โดยให้เงาของไม้เท้า ผ่านมุมจอส่วนบนด้านซ้าย (ท าจังหวะ) หลบรูป
                       3.  ล่อไม้เท้าตรงกลางจอ โดยให้เงาของไม้เท้า ผ่านมุมจอส่วนบนตรงกลาง (ท าจังหวะ) หลบรูป

                       4.  ออกรูปทางด้านขวามือ เหาะผ่านดวงไฟไปด้านซ้ายโดยให้เงาของรูปผ่านมุมจอส่วนบนซ้าย (ท า
                          จังหวะ) หลบรูป
                       5.  ออกรูปทางด้านขวามือ ให้รูปอยู่กลางดวงไฟ เยื้องรูป ท าจังหวะกลางจอเพื่อเล่นเงา (ดนตรี
                          บรรเลงเพลงเชิด) การเล่นเงา ลักษณะของรูปส่วนบน (ศีรษะกับส่วนหน้าอกของรูป ทาบทับติด

                          กับจอ) จะอยู่นิ่งและเคลื่อนไหวยักย้ายไปตามจังหวะเฉพาะแต่ส่วนล่างของรูป กับไม้เท้าลักษณะ
                          เหมือนนกยูงร าแพน ประมาณ 1-2 นาที จากนั้นเยื้องรูปเปลี่ยนเป็นลักษณะในท่าเหาะ เหาะผ่าน
                          ดวงไฟ ไปด้านซ้าย โดยให้เงาของรูป ผ่านมุมจอ ส่วนบนด้านซ้าย (ท าจังหวะ) หลบรูป
                       6.  (ท าซ้ า ข้อ5) คือออกรูปทางด้านขวามือ ให้รูปอยู่ตรงกลางดวงไฟเยื้องรูปท าจังหวะกลางจอ เพื่อ

                          เล่นเงา (ดนตรีบรรเลงเพลงเชิด) การเล่นเงา ลักษณะของรูปส่วนบน (ศีรษะ กับส่วนหน้าอกของ
                          รูป ทาบทับติดกับจอ) จะอยู่นิ่งและเคลื่อนไหว ยักย้ายไปตามจังหวะ เฉพาะแต่ส่วนล่างของรูป
                          กับไม้เท้า ลักษณะเหมือนนกยูงร าแพน ประมาณ 1-2 นาที จากนั้นเยื้องรูปเปลี่ยนเป็นลักษณะใน

                          ท่าเหาะ เหาะผ่านดวงไฟไปด้านซ้ายโดยให้เงาของรูปผ่านมุมจอส่วนบนด้านซ้าย (ท าจังหวะ)
                          หลบรูป
                       7.  ออกรูปทางด้านซ้าย เหาะผ่านดวงไฟไปด้านขวาโดยให้เงาของรูปผ่านมุมจอส่วนบนด้านขวา (ท า
                          จังหวะ) หลบรูป
                       8.  (ดนตรีเปลี่ยนจังหวะ) ออกรูปในท่าเดิน จากด้านขวาเดินผ่านหน้าดวงไฟไปด้านซ้ายแล้วหลบรูป

                          (ลักษณะของรูป ในขณะเดิน รูปจะอยู่กึ่งกลาง ระหว่างดวงไฟกับจอหนัง)
                       9.  ออกรูปทางด้านขวา ให้รูปอยู่ตรงกลางจอ หรือดวงไฟ ส่วนศีรษะ และหน้าอกของรูปทาบทับติด
                          กับจอแล้วเยื้องรูป เพื่อเปลี่ยนจังหวะและท านองเพลง ที่เรียกว่า “นาดช้า” (ลักษณะของรูปใน

                          ขณะที่นาด) จังหวะที่หนึ่ง ไม้มือของฤาษีที่ถือไม้เท้า แกว่งออกไปด้านหน้าของรูป (ซ้ายมือนาย
                          หนัง) ให้อยู่เลยระดับสะเอวเล็กน้อย ส่วนล่างของรูปจะต้องบิดไม้ตับ (ไม้หนีบ) ให้แยกห่างกัน
                          ออกไปทางฝั่งตรงกันข้าม จังหวะที่สอง ส่วนล่างของรูป จะต้องบิดไม้ตับ (ไม้หนีบ)  กลับมาด้าน
                          ซ้ายมือ ของนายหนัง ส่วนหน้าของรูปตรงตามจังหวะ และพอดีกับการเคลื่อนไหว ไม้มือของฤาษี

                          ที่ถือไม้เท้าเก็บแกว่งกลับไปทางด้านหลังของรูป (ขวามือนายหนัง) ให้อยู่เลยระดับสะเอวด้านหลัง
                          เล็กน้อย (ไม้เท้าแกว่งไปด้านซ้าย ไม้ตับต้องบิดออกไปด้านขวา และถ้าไม้เท้าไปด้านขวา ไม้ตับ
                          ต้องบิดไปทางซ้าย ท าสลับกัน)
                       10. เยื้องรูปอีกครั้ง ตามจังหวะและท านองเพลง เปลี่ยนอิริยาบถ จากจังหวะนาดช้า เป็นจังหวะ ฉิวปู

                          หรือเรียกว่า “ฤาษีปักด า” (วิธีการใช้รูปคือใช้ไม้เท้าของรูป ปักลงตามจังหวะนับ คือ หนึ่ง-สอง-
                          สาม, หนึ่ง-สอง-สาม, (-ป-ป/-ป-ป/-ป-ป/----/-ทีด-เทิง/-ทีด-เทิง/-ทีด-เทิง/----) ปักเดินไป
                          ข้างหน้าและถอยหลังสลับกัน ส่วนล าตัวและศีรษะของรูป โน้มและก้มกระตุกเล็กน้อย พร้อมกับ
                          ไม้เท้าตรงตามจังหวะนับ)

                       11. เยื้องรูปอีกครั้ง ตามจังหวะและท านองเพลง เปลี่ยนอิริยาบถจากจังหวะฉิวปู หรือ ปักด า เป็น
                          “นาดเร็ว” (วิธีการใช้รูปเชิดในลักษณะเดียวกันกับนาดช้า แต่ท าให้เร็วขึ้น) ตามจังหวะ
   263   264   265   266   267   268   269   270   271   272   273