Page 267 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 267

261


                       - มอบหมายหน้าที่คณะกรรมการ คือ เป็นประธาน เลขาฯเป็นผู้จดบันทึก  ผู้ช่วยเลขา มีหน้าที่จับ
               เวลา ในการพูดคนละ 3 นาที 2รอบ ต่อครั้ง ก าหนดข้อตกลงเบื้องต้น คือ การตรงต่อเวลาในการนัดหมาย ฟัง

               ด้วยความตั้งใจไม่พูดแทรก และเข้าร่วมกิจกรรมตลอดระยะเวลาและผู้บันทึกข้อมูล มีหน้าที่บันทึกข้อมูลทาง
               คอมพิวเตอร์
                       - สร้างบรรยากาศ เช่น สถานที่มีความสะดวกเอื้อต่อการระดมความคิด การสร้างแรงจูงใจในการ
               แลกเปลี่ยนเรียนรู้ บรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบเป็นกัลยาณมิตร บริการด้านอาหารและเครื่องดื่ม

                       - คณะกรรมการเดินทางพบครูภูมิปัญญาตามนัดหมาย 2 ครั้ง พร้อมทั้งมีบันทึกเสียงบันทึกไว้
                       - สืบค้นความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น ต ารา งานวิจัย อินเทอร์เน็ตฯลฯ
                       - จัดท า Facebook , blog , website ของวิทยาลัยฯ
                    3.  การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ

                       - จัดประชุมผู้มีประสบการณ์ในการจัดเก็บองค์ความรู้และจัดท าเอกสารโดยถอดจากเสียงที่บันทึกไว้
               มาสรุปประเด็นความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการเชิดรูปครูหนังตะลุง (ฤาษี)
                       - เรียบเรียงและจัดหมวดหมู่อย่างเป็นระบบ
                       - ปรับภาษาจากภาษาพูดเป็นภาษาเขียน

                    4.  การประมวลและกลั่นกรองความรู้
                       - ตรวจสอบเอกสารให้มีความถูกต้อง
                       - จัดท าอภิธานศัพท์เฉพาะ

                       - จัดท ารูปเล่มเอกสารที่สมบูรณ์
                       - บันทึกวิดีทัศน์ เทคนิคการเชิดรูปครูหนังตะลุง (ฤาษี)
                    5.  การเข้าถึงความรู้
                       - ก าหนดกลุ่มเป้าหมาย คือ คณะครูภาคดุริยางค์ไทย และครูผู้สอนนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคใต้
                       - จัดท าบันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพื่อรับทราบและถ่ายทอดนโยบายให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องน าไป

               ปฏิบัติและรายงานผลการน าไปใช้
                       - จัดท า  Website  ของวิทยาลัย เพื่อเผยแพร่ความรู้
                       - เผยแพร่เอกสารที่เป็นแผ่นพับ

                       - น าองค์ความรู้เข้าห้องสมุด
                    6.  การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้
                       - จัดเวทีส าหรับแลกเปลี่ยนความรู้ KM Day  โดยเชิญ ครู อาจารย์ ที่สอนนาฏศิลป์พื้นเมือง และครู
               ภาคดุริยางค์ไทย เข้าร่วมรับฟังการน าเสนอเทคนิคการเชิดรูปครูหนังตะลุง (ฤาษี)

                       - มีการพูดคุยซักถาม เสนอแนะความคิดเห็น พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลไว้
                    7.  การเรียนรู้
                       - น าองค์ความรู้เรื่อง เทคนิคการเชิดรูปครูหนังตะลุง (ฤาษี) มาบูรณาการกับการเรียนการสอน
                       - ติดตามผลการน าองค์ความรู้ เรื่อง เทคนิคการเชิดรูปครูหนังตะลุง (ฤาษี) ไปใช้

                       - น าข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของครูที่น าองค์ความรู้ไปบูรณาการกับการเรียนการสอน มาประชุม
               แลกเปลี่ยนเรียนรู้
                       - หากผลที่ได้ไม่ประสบความส าเร็จ หรือมีปัญหาเรื่องใด ให้จัดท าเพื่อแก้ไขในปีต่อไป เพื่อให้เกิดวงจร
               แห่งการเรียนรู้ PDCA
   262   263   264   265   266   267   268   269   270   271   272