Page 354 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 354
348
นักศึกษารู้ถึงงานที่จะจัดหรือกิจกรรมที่ท าได้ , Collaboration: ความร่วมมือ โดยการให้คะแนนการท างาน
เป็นทีม ดูแลแก้ไขสถานการณ์ร่วมกันและ Creativity: ฝึกให้นักศึกษาคิดรูปแบบกิจกรรมด้วยตนเองไม่
ลอกเลียนแบบใคร: ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะชีวิตและอาชีพ: ฝึกให้นักศึกษาติดต่อสถานประกอบการเอง
เจรจาต่อรองเอง เจอลูกค้าจริง ๆ Information, Media and Technology skill: ทุกกลุ่มต้องสามารถใช้
เทคโนโลยีถ่ายทอด สื่อสาร และประมวลผล
ผลการน าไปใช้
1. วิชาการส่งเสริมการตลาด (Promotion) นักศึกษาสามารถน าวิชาที่เป็นทฤษฎี น าไปสู่การปฏิบัติ
จริงได้ ตามกรอบทั้ง 4 ด้าน ออกมาในรูปของการจัด Event marketing ให้บริษัทต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย
ได้ฝึกการเจรจาต่อรองของการสนับสนุน และการแก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ในวันจัดงานจริง โดยมีสถาน
ประกอบการเจ้าของผลิตภัณฑ์ เป็นผู้ร่วมประเมินผล ท าให้นักศึกษาเข้าใจและเรียนรู้ สามารถสังเคราะห์
วิชาการน าไปสู่การปฏิบัติได้และได้ใช้เทคโนโลยีสื่อต่างๆในการจัดกิจกรรมและน าเสนอผลงานได้จริง
2. วิชาการตลาดเพื่อสังคม นักศึกษาสามารถใช้กรอบทั้ง 4 ด้าน ออกมาในรูปของการออกไป
จ าหน่ายผลิตภัณฑ์เพื่อสังคม โดย
3. น ารายได้ไปมอบให้มูลนิธิต่างๆ และนอกจากได้ตามกรอบทั้ง 4 ด้านนี้ แล้วยังได้จิตส านึกที่ดีที่จะ
ท าให้สังคมดีขึ้น ผ่านการท าแผนการตลาดเพื่อสังคมนี้ด้วย
ปัญหา/ข้อเสนอแนะ เนื่องจากมอบหมายเป็นงานกลุ่ม จึงค่อนข้างวัดยากส าหรับรายบุคคลหรือ
สมาชิกทุกคนในกลุ่มว่ากรอบแนวคิดทั้ง 4 ด้านนี้ สร้างการเรียนรู้ให้กับหรือเกิดขึ้นกับสมาชิกทุกคนของกลุ่ม
นักศึกษาหรือไม่
ข้อเสนอแนะ คือ ในภาคการศึกษาต่อมาอาจต้องออกแบบการจัดการเรียนการสอนที่เป็นงานเดี่ยว ที่
สามารถวัดทักษะพื้นฐานตามกรอบแนวคิดในการจัดการศึกษาส าหรับศตวรรษที่ 21
กรณีที่ 4 การประเมินผลในศตวรรษที่ 21 โดยอาจารย์ปรินดา ลาภเจริญวงศ์
อาจารย์ปรินดา ลาภเจริญวงศ์ อาจารย์ประจ าสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ได้น าไปใช้กับรายวิชา
คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง โดยการเน้นลงมือท า ร่วมกิจกรรมกันทั่วถึง เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในบทเรียนได้ง่ายขึ้น
และสามารถจดจ าเนื้อหาในการเรียน น าเทคนิคในการสอนการศึกษาส าหรับศตวรรษที่ 21 ของ รศ.ดร. อุษา
พร เสวกวิ มากระตุ้นความตื่นตัวในการเรียน การช่วยกันถกคิดถึงปัญหาที่จะแก้ไข
ผลการน าไปใช้
นักศึกษามีความเข้าใจในรายวิชามากขึ้น มีความร่วมมือมากขึ้นในชั้นเรียน กล้าน าเสนอความคิดเห็น
กล้าพูด กล้าคิด มีความช่วยเหลือเพื่อนในชั้นเรียน ในการช่วยแนะน าวิธีคิด การแก้ปัญหาไม่หวงความรู้วิชา
และนักศึกษาตื่นตัวขึ้น
ปัญหา/ข้อเสนอแนะ
ปัญหาของพฤติกรรมของนักศึกษาบางคนที่อาจไม่ได้ให้ความร่วมมือเต็มที่และความรับผิดชอบในการ
เข้าชั้นเรียน
ปัจจัยแห่งความส าเร็จ
1. ผู้บริหารสถาบันเห็นความส าคัญของการจัดการความรู้และส่งเสริมในการด าเนินการต่างๆ