Page 355 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 355
349
2. ผู้บริหาร คณะกรรมการจัดการความรู้ มีการประชุมเพื่อวางแผนและเป้าหมายที่ชัดเจนในการ
จัดการความรู้
3. คณาจารย์หรือคณะกรรมการจัดการความรู้มีความตระหนักและให้ความส าคัญในการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ แชร์ประสบการณ์ เพื่อใช้ในการถ่ายทอดต่อไป
4. คณาจารย์หรือคณะกรรมการจัดการความรู้มีความยินดี ยอมรับ และให้ความร่วมมือในการน า
เทคนิคการเรียนการสอนที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปใช้และรายงานผลการน าไปใช้เพื่อพัฒนาและ
ปรับปรุงต่อไป
5. ฝ่ายสนับสนุนระดับคณะ มหาวิทยาลัย ให้ความช่วยเหลือในการด าเนินการกิจกรรมของ
กระบวนการการจัดการความรู้
6. คณาจารย์ คณะ สถาบัน ให้การสนับสนุนการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ ท าให้กระบวนการการจัดการความรู้มีช่องทางการติดต่อ สื่อสาร ได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น
ปัญหา อุปสรรค
ในการด าเนินงานของการจัดการความรู้ส่วนใหญ่มาจากวัน เวลาที่สามารถแลกเปลี่ยนความรู้ของ
คณะกรรมการจัดการความรู้ไม่ตรงกัน เนื่องมาจากกิจกรรมของแต่ละสาขาวิชา คณะ วิทยาเขตและ
มหาวิทยาลัย
แนวทางในการแก้ปัญหา
1. สอบถามระยะเวลาในการนัดหมาย ครั้งถัดไปทุกครั้งที่มีการประชุม เพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน
2. นอกจากการนัดประชุมคณะกรรมการจัดการความรู้ทั้ง 10 สาขาวิชาแล้ว ในช่วงเวลาที่มีการนัด
ประชุม ทางคณะกรรมการติดภารกิจการปฏิบัติงาน จะด าเนินการแจ้งให้อาจารย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน
สาขาวิชา ฯ ตนเอง แล้วจึงน าองค์ความรู้มาแลกเปลี่ยนในที่ประชุมครั้งต่อไป
3. นอกเหนือจากการประชุม คณะกรรมการจัดการความรู้ ยังมีช่องทางอื่นเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ คือ Facebook กลุ่ม เว็บไซต์ของ KM และ Line กลุ่ม ด้วย
ประโยชน์ที่ได้รับ
1) กิจกรรมการจัดการความรู้ได้ส่งเสริมให้บุคลากรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แชร์ประสบการณ์ การ
น าไปใช้และน ามาปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ได้เทคนิคที่ดีขึ้น ท าให้เกิดเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
2) คณาจารย์ได้รับการพัฒนาในด้านเทคนิคการสอนอย่างสม่ าเสมอ ซึ่งคณาจารย์เองก็จ าเป็นที่
จะต้องเรียนรู้พัฒนาปรับเปลี่ยนและสร้างให้เกิดวัฒนธรรมที่ดีในการท างาน เพื่อให้องค์กรเป็นองค์กรที่มี
ประสิทธิภาพสามารถปฏิบัติงานตามภาระหน้าที่ได้อย่างเต็มศักยภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด
3) บุคลากรใหม่ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้เทคนิคการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ท าให้
บุคลากรใหม่สามารถปรับการเรียนการสอนได้รวดเร็วยิ่งขึ้น สามารถปฏิบัติงานและพัฒนาการเรียนการสอน
ให้เหมาะกับสถานการณ์ต่างๆได้
สรุป
จากผลด าเนินการการแลกเปลี่ยนความรู้ โดยต้องการให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ มีการคิดวิเคราะห์
และแก้ไขปัญหา รวมถึงการมีทักษะการปฏิบัติ และมีการน าเทคนิคไปใช้ในการเรียนการสอน สามารถจัด
อันดับการน าไปใช้ได้ดังนี้ เทคนิคการสอนโดยใช้สื่อดิจิทัล กับ ความรู้ การเรียนรู้ มีการน าไปใช้เป็นอันดับ 1
คิดเป็นร้อยละ 61.54 เทคนิคการสอนแบบท างานเป็นกลุ่ม มีการน าไปใช้เป็นอันดับ 2 คิดเป็นร้อยละ 38.46
การประเมินผลการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 มีการน าไปใช้เป็นอันดับ 3 คิดเป็นร้อยละ 30.77 เทคนิคการสอน