Page 359 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 359

353


                  รูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนกลุ่มภาคกลางตามแนวพระราชด าริเศรษฐกิจพอเพียง

                   Model of Central Community’s Product Development by Application of
                                                 Sufficiency Economy


                                                   ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์ 1
                                                   ชญานนท์ กุลฑลบุตร 1
                           1
                            ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
                                                             1
                                 E-mail: narong.p@rmutp.ac.th , Kamahun.s@hotmail.com   1

               บทสรุป

                       งานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ(Quantitative  and  Qualitative  Research)
               รวมทั้งระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory  Action  Research:  PAR)  ของ
               ชุมชน    มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนตามแนวคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียง และ

               การสร้างขีดความสามารถด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ชุมชน เพื่อเพิ่มความ
               หลากหลายและสร้างผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงและใช้วัตถุดิบภายในท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ
               เครือข่ายวิจัยชุมชนจังหวัดสมุทรสงคราม สมุทรสาคร ปทุมธานี และกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการ

               วิจัย ได้แก่ เอกสาร แบบสัมภาษณ์และแบบสังเกต แบบประเมินความพึงพอใจ การสนทนากลุ่มย่อย การจัด
               เวทีประชาคม และการถ่ายทอดเทคโนโลยีเชิงปฏิบัติการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการ
               การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชนกลุ่มภาคกลาง แบ่งออกเป็น 4  กลุ่ม ได้แก่  กลุ่มผลิตภัณฑ์น้ ามันเหลืองจาก
               มะพร้าว  สมุทรสงคราม   กลุ่มผลิตภัณฑ์น้ าข้าวกล้องผสมสมุนไพร  ปทุมธานี กลุ่มผลิตภัณฑ์แปรรูปปลาทู
               สมุทรสาคร และกลุ่มผลิตภัณฑ์น้ ามันสมุนไพร กรุงเทพมหานคร ความพึงพอใจต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทั้ง 4

               อย่าง พบว่า ผลิตภัณฑ์น้ ามันสมุนไพร  และผลิตภัณฑ์แปรรูปปลาทู อยู่ในระดับมาก ส่วนผลิตภัณฑ์น้ ามัน
               เหลืองจากมะพร้าว และผลิตภัณฑ์น้ าข้าวกล้องงอกผสมสมุนไพร  อยู่ในระดับมากที่สุด ผลการประชุมวิพากษ์
               แนวทางการพัฒนาชุมชนกลุ่มภาคกลาง พบว่า ผู้เข้าร่วมการประชุมลงมติถึงความเป็นไปได้ในการน าไปผลิต

               ต่อยอดพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ บรรจุภัณฑ์น้ ามันเหลืองจากมะพร้าว บรรจุภัณฑ์น้ าข้าวกล้องงอกผสม
               สมุนไพร และบรรจุภัณฑ์น ามันหม่องน้ าสมุนไพร และ สมาชิกชุมชนมีความต้องการฝึกอบรมผลิตภัณฑ์เศษ
               วัสดุเหลือใช้ในชุมชน เพื่อน าไปใช้ต่อยอดพัฒนาสู่ตลาดประชารัฐ เป็นการลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มมูลค่า โดยใช้
               วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่น อาทิผักตบชวา เป็นต้น และสามารถน าไปจ าหน่ายให้กับลูกค้าที่มาใช้บริการ อีกทั้งยัง

               สามารถน าองค์ความรู้ที่ได้รับไปเป็นวิทยากร การศึกษาตลอดชีวิต ถ่ายทอดให้กับชุมชนอื่นๆ ที่สนใจ เป็นการ
               แบ่งปันระหว่างชุมชน และสร้างเครือข่ายนักวิจัยชุมชนเพื่อการพัฒนายั่งยืนตามแนวพระราชด าริเศรษฐกิจ
               พอเพียงต่อไป

               ค าส าคัญ: รูปแบบ  การพัฒนาผลิตภัณฑ์  ชุมชน  เศรษฐกิจพอเพียง
               Summary

                       This  research  is  qualitative  and  quantitative  research  including  methods  of
               participatory action research. The purposes of this research were to study on a Model of

               promotion and product development follow up the self-sufficiency economy philosophy.
               And  building  carrying  capacity  for  product  development  and  transfer  technology  to  the
               community for increase product variety and create high-value products by using local raw
   354   355   356   357   358   359   360   361   362   363   364