Page 364 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 364

358


                       ขั้นตอนปฏิบัติงานขั้นที่ 3 การประชุมวิพากษ์รูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนกลุ่มภาค
               กลาง   พบว่า ผู้เข้าร่วมการประชุมลงมติถึงความเป็นไปได้ในการน าไปผลิตต่อยอด ได้แก่ บรรจุภัณฑ์น้ ามัน

               มะพร้าว บรรจุภัณฑ์ยาหม่องน้ ากันยุง ผลิตภัณฑ์น้ าข้าวกล้องงอกผสมสมุนไพร การแปรรูปสบู่มะนาว และ
               ผู้เข้าร่วมการประชุมซึ่งเป็นตัวแทนของสมาชิกชุมชนมีความต้องการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีและฝึกอบรม
               เพื่อการพัฒนาอาชีพ  ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ยาหม่องน้ าสมุนไพรกันยุง ผลิตภัณฑ์น้ ามันมะพร้าว และสมาชิกกลุ่ม
               วิจัยสามารถน าไปจ าหน่ายให้กับผู้สนใจ และวางจ าหน่ายสู่ตลาดประชารัฐต่อไป

                       ขั้นตอนปฏิบัติงานขั้นที่ 4  การอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์

               ชุมชน ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีความต้องการคือผลิตภัณฑ์น้ ามันเหลืองจากมะพร้าว และการแปร
               รูปเศษวัสดุเหลือใช้เพื่อรายได้เสริมในชุมชน โดยมีสมาชิกเข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ จ านวน 30 คน   ณ
               ห้องประชุมอาภากร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ทุกคนได้เรียนรู้
               วัสดุ  อุปกรณ์ และวิธีการท าน้ ามันเหลืองจากมะพร้าว ตลอดจนเทคนิคต่าง ๆ ให้สามารถน าความรู้ไปพัฒนา

               ตัวเอง  สร้างสรรค์เศรษฐกิจชุมชน  เพื่อความยั่งยืนตามแนวพระราชด าริเศรษฐกิจพอเพียง










                                          ภาพที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม



               ขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มภาคกลาง

                       การพัฒนาน้ ามันเหลืองบางคณฑี จังหวัดสมุทรสงคราม ทีมงานนักวิจัยได้ท าการตรวจสอบผลการ
               ด าเนินงานเป็นระยะตั้งแต่การทดลองท าผลิตภัณฑ์ชุมชนต้นแบบ ร่วมประชุมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและผู้ที่
               เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้มาซึ่งความต้องการร่วมกัน และหลังจากได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่สมบูรณ์และมีความลงตัว

               ก็น าไปตรวจสอบกับกลุ่มประชาชนทั่วไปและกลุ่มนักท่องเที่ยวถึงการรับรู้และความพึงพอใจที่มีต่อผลิตภัณฑ์
               นั้นๆ  และในขั้นตอนการตรวจสอบขั้นตอนสุดท้ายของการน าผลิตภัณฑ์ต้นแบบไปต่อยอดเพื่อสร้างสรรค์เป็น
               ผลิตภัณฑ์ชุมชนต่อไป   คือ การร่วมกันวิพากษ์ทั้งคนในชุมชน   บุคคลภายนอกชุมชน   ผู้เชี่ยวชาญ และ
               สถานศึกษา รวมกันเป็นพันธมิตรเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนบางยี่รงค์ อ าเภอบางคณฑี จังหวัด

               สมุทรสงคราม  นอกจากนี้หลังจากการฝึกอบรมผลิตผลิตภัณฑ์น้ ามันเหลืองจากมะพร้าว ผู้วิจัยได้มีการติดตาม
               ผลการด าเนินงาน  โดยได้เดินทางเข้าไปในชุมชน เพื่อท าการประเมินผลการต่อยอด  พัฒนาผลิตภัณฑ์ของ
               ชุมชน  พบว่ากลุ่มวิจัยชุมชนบางยี่รงค์ ได้ท าการศึกษารูปแบบบรรจุภัณฑ์น้ ามันเหลืองเพื่อจ าหน่ายในชุนชน

               และตลาดคลองผดุงกรุงเกษม
                       การเรียนรู้ร่วมกันในชุมชน  ไม่ใช่มีจุดมุ่งหมายให้ทุกคนที่เข้าร่วมอบรมจะต้องผลิตผลิตภัณฑ์เป็นทุก
               คน   หากแต่ให้สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมเห็นคุณค่าของการเรียนรู้และเห็นประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ที่กลุ่ม
               วิสาหกิจชุมชนผลิตขึ้น และสามารถเป็นกระบอกเสียง   บอกต่อถึงแหล่งผลิตของชุมชนและเป็นการช่วยกัน
   359   360   361   362   363   364   365   366   367   368   369