Page 363 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 363

357


                       4. จัดท าแผนการตลาดที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็นทิศทางในการวางแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริหารจัดการ
               การจัดจ าหน่าย

                       5.วางแผนการประชาสัมพันธ์ให้ชัดเจน ทั้งในเรื่องของแผนที่จะน าเข้าสู่ชุมชน การแนะน าประโยชน์
               ของผลิตภัณฑ์ เป็นต้น
                       นอกจากนี้จุดประสงค์หลักของที่มีต่อการผลิตผลิตภัณฑ์  พบว่า  เป็นการน าวัตถุดิบในท้องถิ่นมาท า
               ให้เกิดมูลค่าเพิ่ม  ลดต้นทุนเครื่องอุปโภคบริโภค ที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน    ท าให้ประหยัดค่าใช้จ่าย เป็นการ

               ประกอบอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ ส่งเสริมความสามัคคีในชุมชน เป็นกิจกรรมที่ช่วยปรับบุคลิกภาพของชาวบ้าน
               สร้างความมั่นใจ และ ท าให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี
                       จากการส ารวจความต้องการของสมาชิกในชุมชน พบว่า สมาชิกในชุมชนมีความต้องการพัฒนา
               ผลิตภัณฑ์ ได้แก่น้ ามันมะพร้าว ข้าวกล้องงอก  สบู่มะนาว  และการแปรรูปกล้วย เป็นต้น

                       คณะผู้วิจัยได้ร่วมกันประชุม   วิเคราะห์และสรุปข้อมูล ในส่วนการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ
               ผลิตภัณฑ์  การออกแบบตราสินค้า และบรรจุภัณฑ์ต่างๆ  ตามความเหมาะสมของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด   โดย
               แบ่งทีมนักวิจัยและนักศึกษาผู้ช่วยวิจัยเป็นกลุ่มตามหมวดหมู่ความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์  ซึ่งแบ่ง
               ตามหัวข้อเรื่อง ได้ดังต่อไปนี้

                        1.  รูปแบบการพัฒนาบรรจุภัณฑ์น้ ามันเหลือจากมะพร้าว
                       2.  การแปรรูปกล้วยดิบสู่ตลาดประชารัฐ
                        3.  การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์น้ ามันหม่องกันยุง

                        4.  การแปรรูปเศษวัสดุเหลือใช้เพื่อรายได้เสริมในชุมชน
                       5. การออกแบบผลิตภัณฑ์น้ าข้าวกล้องงอกเพื่อสุขภาพ
                       6.  การแปรรูปสบู่มะนาวตู่ตลาดประชารัฐ

                       ขั้นตอนปฏิบัติงานขั้นที่ 2  ทีมนักวิจัยได้แบ่งลงพื้นที่ชุมชนเพื่อประชุมกลุ่มย่อยกับสมาชิกชุมชนที่
               เป็นผู้คิดริเริ่มท าผลิตภัณฑ์  เพื่อได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ที่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน

               ต้องการ  และการมีส่วนร่วม ร่วมคิด และร่วมกันออกแบบบรรจุภัณฑ์ตามที่กลุ่มต้องการ    ซึ่งทีมงานผู้วิจัยได้
               พัฒนาบรรจุภัณฑ์ต้นแบบที่สามารถน าไปใช้ได้จริง  เพื่อให้มีเอกลักษณ์และเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์มากขึ้น
               โดยที่ในแต่ละขั้นตอนทีมนักวิจัยได้เข้าประชุมย่อยกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อความต้องการที่ตรงกัน  เมื่อได้
               ผลิตภัณฑ์ต้นแบบก็น าไปสอบถามความพึงพอใจกับชาวบ้านทั่วไปและนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเที่ยวตลาด

               ริมน้ าบางหัวเสือเพื่อให้ได้รูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่สมบูรณ์และลงตัวที่สุด










                                        ภาพที่ 1 วิทยากรอบรมวิธีวิจัยชุมชน (ขั้นตอนปฏิบัติงาน)
   358   359   360   361   362   363   364   365   366   367   368