Page 673 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 673

667


               เกินไป เนื่องจากระดับลมของปากเข้าในท่อในระดับมากมีผลท าให้เป่าแล้วเกิดเสียงที่แหลมและหอน (ดังเสียง
               แหลมเกินไป) ดังนั้นการตั้งระดับเสียงโหวดแต่ละลูกกับหัวโหวดนั้น ควรท าอย่างประณีตและหาช่วงที่ขี้สูดยื่น

               ออกไปในระดับพอดี มีผลท าให้โหวดเป่าง่ายและไม่หอน จึงถือว่าขั้นตอนนี้มีความส าคัญเป็นอย่างยิ่ง
                              ขั้นที่  13  การพ่นแลกเกอร์ เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการท าโหวดส่วนใหญ่เป็นพ่นมากกว่า
               การทาแลกเกอร์ เนื่องจากการพ่นท าให้ได้สารเคลือบบางกว่าการทาซึ่งถ้ามีชั้นแลกเกอร์ที่หนาแล้ว  มีผลท าให้

               โหวดมีระดับที่ผิดเพี้ยนหรือท าให้เป่าดังยากขึ้นไปอีก
                       ๒. ด้านผู้สอน
                       ผลจากการด าเนินการจัดเก็บความรู้เรื่องการท าโหวด  จากการสนทนากลุ่ม จากการสังเกต ท าให้เห็น
               กระบวนการในการท าโหวดทุกขั้นตอน สามารถน าองค์ความรู้ดังกล่าวมาเรียบเรียงเป็นเอกสารประกอบการ
               สอนรายวิชา โหวด  ในเนื้อหาเรื่อง ส่วนประกอบของโหวด การดูแลรักษาโหวดและการท าโหวด  มาใช้ในการ

               เรียนรายวิชา โหวด ท าให้ผู้เรียนมีเอกสารประกอบการศึกษาค้นคว้าในรายวิชาดนตรีพื้นบ้านอีสาน

                       ๓. ด้านสถานศึกษา
                       ผลจากการด าเนินการจัดเก็บความรู้เรื่องการท าโหวด  ท าให้สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้เพิ่มขึ้น

               กล่าวคือเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีชีวิตเพราะผู้เรียนมีความสามารถในการท าโหวด ผู้ที่สนใจในเรื่องการท าโหวด
               สามารถมาศึกษาได้ด้วยตนเองนอกจากนี้สถานศึกษายังมีเอกสารที่จัดท าขึ้น เกี่ยวกับการจัดเก็บองค์ความรู้ภูมิ
               ปัญญาท้องถิ่นเรื่อง “การท าโหวด”   เป็นการอนุรักษ์สืบทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านดนตรีพื้นบ้าน
               อีสาน “การท าโหวด” ให้คงอยู่คู่กับประเทศชาติสืบไป
   668   669   670   671   672   673   674   675   676   677   678