Page 71 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 71
65
ระหว่างนักศึกษา บุคลากรทั้งจากภายในและภายนอกสาขาวิชา นักศึกษามีพัฒนาการด้านทักษะการสื่อสารที่ดีขึ้น
มีความรู้ในการน าเครื่องมือจัดการความรู้ไปใช้ในการเรียนวิชาอื่นๆได้ และในส่วนของหน่วยงานเกิดการเรียนรู้ที่
เป็นรูปธรรมในด้านการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กรโดยสามารถน ากระบวนการและวิธีการด าเนินงานไป
ประยุกต์ใช้กับภาระงานอื่นๆ ที่นอกเหนือจากการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาองค์กรไปสู่องค์กรแห่งการเรียนต่อไป
ความท้าทายในการด าเนินกิจกรรมในอนาคต
ในการด าเนินงานครั้งนี้สาขาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จะน า
องค์ความรู้และประสบการณ์ที่ได้ไปขยายผลอย่างต่อเนื่อง และจะพัฒนาชิ้นงานที่เกิดจากการเรียนรู้ของนักศึกษา
ไปสู่ชิ้นงานที่มีคุณค่าทางด้านการออกแบบและการใช้งานที่สามารถจดสิทธิบัตรได้ต่อไปในอนาคต
บรรณานุกรม
st
เบลลันกา เจมส์ และ แบรนด์ รอน. 2556. ทักษะแห่งอนาคต : การศึกษาในศตวรรษที่ 21. แปลจากเรื่อง 21
century skills : Rethink how student learn. โดย วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์.
กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮ้าส์.
ปาริฉัตต์ ศังขะนันทน์. 2548. “องค์กรอัจฉริยะ : องค์กรแห่งการเรียนรู้.” วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ. 53,
167: 26-32.
พิเชฐ บัญญัติ. 2555. “KM Tools : เครื่องมือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้”. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559,
http://gotoknow.org/blog/practicallykm/119306.