Page 72 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 72
66
สร้างสรรค์หลักสูตร เสริมสร้างเครือข่าย สรรสร้างวิทยากร
1
1
1
ชลาลัย เหง้าน้อย , ศิริวิภา ค าโส , จันทิศา แก้วทองมี
ทรงศิลป์ ประทุมวงษ์ และ วทัญญู วรรณวงค์
1
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
แผนกงานวิจัยและพัฒนา งานบริการการศึกษา
E-mail: chalalai.ng@rmuti.ac.th
บทสรุป
การจัดการความรู้วิธีปฏิบัติที่ดี (Good Practice for Knowledge Management) ในหัวข้อ สร้างสรรค์
หลักสูตร เสริมสร้างเครือข่าย สรรสร้างวิทยากร ได้น าหลักการหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการองค์ความรู้
เกี่ยวกับการทบทวนผลการท างาน AAR (After Action Review) ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งในวงจรการท างาน เป็นการ
ทบทวนวิธีการท างานทั้งด้านความส าเร็จและปัญหาที่เกิดขึ้น จากการด าเนินงานโครงการบริการวิชาการที่ผ่านมา
ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ในระยะ 3 ปี ในปีงบประมาณ 2557- 2559 ทั้งนี้
ยังเป็นการทบทวนเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การท างาน เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดใน
การสนับสนุนการท างานโดยเรียนรู้จากปัญหาของการท างานในระบบเดิมแล้วปรับปรุงให้เกิดกระบวนการท างาน
ใหม่
ค าส าคัญ: หลักสูตร บริการวิชาการ การจัดการความรู้
Summary
Knowledge Management for good practice in topic “Need to good practice for long term
cours” To takes principles or a theory to connect the dot about knowledge factors and AAR
(Action After Review). There for it is a one step in work circle to re-think about solutions to a
problem from action operated of Academy Service Project of Rajamangala University of
Technology Isan, Sakon Nakhon Campus in 3 years in the yearly budget 2014-2016. Also, it is a
re-think for work experience exchange to a solution for a problem to archive high performance
to support work system by studing from a work system to apply and adaptive for the best new
work system.
Key words: Course of study, Academic service, Knowledge Management
บทน า
เดิมในการให้บริการวิชาการนั้น องค์ความรู้นั้นจะมาจากอาจารย์ในมหาวิทยาลัย ที่เป็นแหล่งองค์ความรู้
และหากลุ่มเป้าหมายเอง ซึ่งในบางครั้งองค์ความรู้นั้นก็สามารถตอบสนองแก่ผู้รับบริการ และไม่สามารถ
ตอบสนองแก่ผู้รับบริการ เพราะว่าเป็นองค์ความรู้ที่อาจารย์หรือเจ้าขององค์ความรู้เป็นผู้มอบให้ ไม่ใช่ความ