Page 73 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 73

67


               ต้องการของผู้รับบริการโดยตรงจึงท าให้เกิดการสร้างสรรค์หลักสูตรขึ้นมา และในส่วนของงบประมาณที่น ามา
               ถ่ายทอดนั้น จะมาจากแหล่งงบประมาณภายในมหาวิทยาลัย ซึ่งการสร้างสรรค์หลักสูตรนี้นั้น ผู้รับบริการสามารถ

               เลือกหลักสูตรที่ตัวเองมาความสนใจ และมีความต้องการที่จะเข้ารับการอบรม พร้อมทั้งมหาวิทยาลัยยังมีอีกหลาย
               หลักสูตร ที่ให้ผู้รับบริการเลือกที่จะรับบริการ จึงเป็นที่มาของการสร้างสรรค์หลักสูตร

                       นอกจากหลักสูตรที่พร้อมจะถ่ายทอดของมหาวิทยาลัยที่มีให้แก่ผู้รับบริการเลือกที่จะอบรมแล้วนั้น

               นอกเหนือจากหลักสูตรของมหาวิทยาลัยที่มีนั้น แต่เป็นความต้องการของผู้เข้ารับอบรม มหาวิทยาลัยก็ยังมี
               เครือข่ายที่พร้อมจะถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้รับบริการด้วยการหาเครือข่าย และหาแหล่งงบประมาณในการ
               น ามาถ่ายทอดเทคโนโลยีทั้งแหล่งงบประมาณ ภายในและภายนอก  ซึ่งปัจจุบันมหาวิทยาลัยมีเครือข่ายคลินิก
               เทคโนโลยี ทั้งประเทศที่พร้อมจะถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ผู้รับบริการมีความต้องการที่จะอบรมจึงเป็นที่มีของการ

               เสริมสร้างเครือข่าย

                       เมื่อผู้รับบริการได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เป็นความต้องการอย่างแท้จริงแล้วจึงเกิดการเรียนรู้ และ
               สามารถน าไปใช้ประโยชน์กับตนเองและภายในครอบครัวจนขยายถึงการน าความรู้นั้นไปใช้ในชุมชน จนเกิดความ

               เชี่ยวชาญและสามารถถ่ายทอดให้แก่ประชาชนในท้องถิ่นของตัวเอง จนเกิดเป็นความเชี่ยวชาญและสามารถเป็น
               วิทยากรชุมชนได้ จึงเป็นที่มาของการสรรสร้างวิทยากร

                       และที่กล่าวมานั้นจึงเป็นขั้นตอนและกระบวนการในการท างานของ  การส ารวจหลักสูตรที่เป็นความ

               ต้องการของชุมชน ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร โดยการออกส ารวจความ
               ต้องการของชุมชนภายในจังหวัดสกลนคร โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ ขนาดของประชากร 400  แล้ว
               น ามาวิเคราะห์ความต้องการอบรม เมื่อได้ข้อมูลความต้องการแล้วนั้น น าข้อมูลที่ได้มาเขียนข้อเสนอโครงการจาก

               แหล่งงบประมาณภายใน และภายนอก

               วิธีการด าเนินงาน

                   1.  แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อประชุมวางแผนการด าเนินงาน
                   2.  ลงพื้นที่เพื่อหาความต้องการเข้ารับบริการจากมหาวิทยาลัย โดยใช้แบบส ารวจความต้องการ เป็น
                       เครื่องมือในการหาความต้องการ

                   3.  วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบส ารวจความต้องการ
                   4.  แจ้งผลการวิเคราะห์ข้อมูลให้แก่มหาวิทยาลัยทราบ โดยการท าเป็นรูปเล่มรายงาน เพื่อเตรียมความพร้อม
                       ในการเขียนข้อเสนอโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากแหล่งทุน ภายในและภายนอก


               เครื่องมือการจัดการองค์ความรู้
                       การจัดการองค์ความรู้ “สร้างสรรค์หลักสูตร เสริมสร้างเครือข่าย สรรสร้างวิทยากร” เป็นการน าการ

               หลักการหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการองค์ความรู้ เกี่ยวกับเรียนรู้ระหว่างท างาน AAR  (After  Action
               Review)  ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งในวงจรการท างาน เป็นการทบทวนวิธีการท างานทั้งด้านความส าเร็จและปัญหาที่
               เกิดขึ้น จากการด าเนินงานโครงการบริการวิชาการที่ผ่านมาของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต
               สกลนคร ทั้งนี้ยังเป็นการทบทวนเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การท างาน เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้เกิด

               ประโยชน์สูงสุดในการสนับสนุนการท างาน
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78