Page 68 - 5-7meeting
P. 68
๖๑
3.ขั้นตอนหลังการประชุม เทคนิคการท างาน
- ผู้เขียนรายงานการประชุม ต้องท าความ
เข้าใจเรื่องที่น าเสนอเป็นวาระการประชุม และหาก
ยังเข้าใจไม่ชัดเจนต้องหาข้อมูลเพมจากหน่วยงาน
ิ่
ผู้เสนอเรื่องหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ๆ
หรือศึกษาข้อมูลจาก Internet จะท าให้สรุป
รายงานได้ง่ายขึ้น
- ต้องหาความรู้เกี่ยวกับการใช้ถ้อยค าส านวน
ี
ค าเชื่อม ภาษาราชการที่ใช้ในการเขยนรายงานการ
ประชุม
๓.๒ เสนอผู้ช่วยเลขานุการที่ประชุมตรวจ - วิธีที่จะช่วยให้ผู้ช่วยเลขานุการตรวจรายงาน
รายงานการประชุม การประชุมด้วยความรวดเร็ว ควรตรวจอกษรใน
ั
ิ
การพมพให้ละเอยดไม่ให้ผิดพลาด และต้อง
ี
์
พยายามสรุปประเด็นการประชุมให้ชัดเจน ด้วย
การใช้ถ้อยค าที่กระชับและเข้าใจได้ง่าย เมื่อตรวจ
แล้วอาจไม่ต้องมีการแก้ไขรายงานการประชุมนั้น
๓.๓ เสนอเลขานุการที่ประชุมพิจารณา - ผู้เขียนรายงานการประชุม ควรสรุปประเด็น
รายงานการประชุมและลงนามในหนังสือส่งรายงาน ก ารป ร ะ ชุ ม ให้ ร ว ด เร็ ว แ ล ะ เข้ าใจ ง่าย
การประชุม ผู้ช่วยเลขานุการตรวจสอบรายงานการประชุม
ิ
อย่างรอบคอบ เป็นวิธีที่ท าให้เลขานุการพจารณา
รายงานการประชุม ได้อย่างไม่ต้องเป็นกังวลว่าจะ
เกิดข้อผิดพลาด และสามารถลงนามในหนังสือส่ง
รายงานการประชุมหนังสือแจ้งมติที่ประชุม และ
มติที่ประชุม แจ้งผู้เกี่ยวข้องได้รวดเร็ว
๓.๔ ด าเนินการส่งรายงานการประชุมทาง - ในปัจจุบันนี้ การส่งรายงานการประชุมให้
ระบบ e-Doc หรือระบบ e-Meeting หรือทาง คณะกรรมการรับรอง อย่างรวดเร็ว และใช้เป็น
ไปรษณีย์ ให้คณะกรรมการรับรอง หลักฐานทางราชการได้ มีช่องทางการส่งโดยอาศัย
การส่งผ่านระบบ Internet หรือสื่อออนไลน์ต่าง ๆ
เช่นเดียวกับการส่งหนังสือเชิญประชุม ท าให้ผู้รับ
รายงานการประชุมสามารถตอบรับรอง ได้ในทันที