Page 201 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 201

195



                       จากผลการวิเคราะห์ดังแสดงในรูปที่ 6-9 พบว่า นักเรียนจากสถานศึกษาทั้ง 4 แห่ง มีทักษะการใช้

               STEM ปานกลางโดยทุกโรงเรียนจะใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์น้อยที่สุด รองมาคือทักษะด้านวิทยาศาสตร์
               ส าหรับทักษะการประยุกต์ใช้ทางวิศวกรรมศาสตร์มีมากกว่าทักษะอื่น แต่ทักษะที่นักเรียนมีมากที่สุดคือทักษะ
               การใช้เทคโนโลยี ส าหรับพฤติกรรมการใช้ทักษะหากเปรียบเทียบระหว่างโรงเรียนมัธยมกับนักเรียน
               วิทยาลัยเทคนิคพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญคือ นักเรียนโรงเรียนมัธยมจะมีความถนัดด้านการ

               ออกแบบโครงร่าง โครงงานและมีทักษะการน าเสนอได้ดีกว่านักเรียนจากวิทยาลัยเทคนิคแต่นักเรียน
               วิทยาลัยเทคนิคแสดงออกถึงการลงมือท างานมากกว่า การร่างโครงงาน ส าหรับรูปแบบโครงงานที่น าเสนอของ
               นักเรียนโรงเรียนมัธยมจะแสดงออกในแนวจินตนาการมากกว่า แต่นักเรียนวิทยาลัยเทคนิคจะแสดงออกถึง
               โครงงานที่อยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริงในชีวิต

                       แนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียนมีการใช้ทักษะด้านสะเต็มให้มากขึ้น ได้แก่การส่งเสริมให้ใช้ทักษะ
               ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เป็นฐานและเพิ่มสัดส่วนในโครงงานในมากขึ้น อาจได้จากการเพิ่มเงื่อนไข
               โจทย์ให้นักเรียนได้คิด ส าหรับการประยุกต์ใช้ซึ่งเป็นทักษะด้านวิศวกรรมศาสตร์ นักเรียนสามารถท าได้ดี
               พอสมควรอยู่แล้ว เช่นเดียวกับทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

                       ผลการด าเนินการพบว่าค่าย STEM for TVET CAMP สร้างแรงบันดาลใจให้กับนักเรียนทั่วประเทศไม่
               ต่ ากว่า 1,000 คน สร้างครูตัวคูณเพื่อเป็นวิทยากรการท ากิจกรรมสะเต็มทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา
               และอาชีวศึกษาไม่ต่ ากว่า 2,000 คน มีความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและองค์กรร่วมมือ

               (Public Private and Partnership) และเผยแพร่ระดับชาติจ านวน 1 เรื่อง ระดับนานาชาติจ านวน 1 เรื่อง
               เพจ STEM for TVET CAMP ซึ่งเป็นเพจบนเฟสบุ๊คมีผู้ชื่นชอบให้การติดตามอย่างสม่ าเสมอจ านวน 2,731 คน
               ได้รับการคัดเลือกให้เป็นตัวอย่างที่ดีโดยเผยแพร่งานผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์โฆษณาโทรทัศน์ และสื่อ
               ทางอินเตอร์เนต มีผู้เข้าชมสูงสุด 2,257,037 ครั้ง
                       ปัจจัยที่ท าให้เกิดความส าเร็จได้แก่การท างานเป็นทีมประกอบด้วย 1.  การมีผู้น าคณะท างานที่

               สามารถประสานงานกับทุกคนและได้รับการยอมรับด้วยหัวใจ 2.  การสร้างคณะท างานที่เป็นการรวมตัว
               ของสหสาขาวิชา 3. การมอบหมายให้ให้แก่คณะท างานโดยพิจารณาจากความรู้ความสามารถความถนัดงาน
               4. การเปิดโอกาสให้คณะท างานได้น าเสนองานโดยหัวหน้าคณะท างานท าหน้าที่คอยก ากับดูแลงานในลักษณะ

               พี่เลี้ยง 5. การได้รับการสนับสนุนทุนจากพันธมิตรภาครัฐและเอกชน
                       ปัญหาอุปสรรคในการท างานช่วงแรกของการท าค่ายคือ ระยะเวลาการท างานที่จ ากัด และการ
               เบิกจ่ายงบประมาณที่ไม่ทันต่อการท างาน ซึ่งแนวทางการแก้ไขคือการช่วยกันสร้างขวัญและก าลังใจต่อกันทั้ง
               ผู้น าและคณะท างานที่ต้องต่อสู้ผ่าฝันเหตุการณ์ที่เกิดทันทีทันใดให้ทันท่วงทีด้วยเป้าหมายเดียวกัน การทบทวน

               การท างานหลังการจัดกิจกรรมทุกวันเมื่อเสร็จสิ้นงาน เพื่อให้ทราบปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างกิจกรรม แนว
               ทางการแก้ไขปัญหาของแต่ละคน การปรับความเข้าใจระหว่างทีมงานเพื่อปรับแนวคิดการท างานให้อยู่ใน
               ทิศทางเดียวกัน

               สรุปผลการด าเนินงาน

                       ความส าเร็จของโครงการ STEM for TVET CAMP ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เกิด
               จากการท างานเป็นทีมของคณะท างาน การใช้วิธีการถ่ายทอดความรู้ผ่านกิจกรรมและการใช้วิธีพี่เลี้ยงในการ

               ก ากับการท างาน ผลการท างานท าให้เกิดผู้เรียนที่ได้รับถ่ายทอดความรู้ทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
               ครูอาจารย์ที่จะเป็นผู้ถ่ายทอดกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนลักษณะสะเต็มศึกษา (STEM) การได้รับความ
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206