Page 205 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 205

199


               เป็นพี่เลี้ยง (Mentoring)  มาใช้ในการพัฒนานักศึกษารุ่นน้องที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการด าเนินการค่าย
               ภาษาอังกฤษครั้งที่ 8  ณ โรงเรียนยามชุมวิทยา อ าเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ให้มีทักษะและ

               ความสามารถในการจัดการปัญหาดังกล่าว ดังแสดงรายละเอียดในการวิธีการด าเนินงาน

               วิธีการด าเนินงาน

                       ในการด าเนินงานฝึกนักศึกษาผู้ยังไม่มีประสบการณ์ในการด าเนินงานค่ายภาษาอังกฤษ สอนด้วยใจให้

               น้องเก่งครั้งที่ 8 นี้ ได้ใช้เทคนิคการจัดการความรู้แบ่งเป็นสองประเภท ได้แก่
                       1.  การสอนงาน (Coaching)

                       2.  การเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring)
                       การสอนงานนั้น  ได้ด าเนินงานโดยให้นักศึกษารุ่นพี่ที่มีประสบการณ์ในการจัดค่ายภาษาอังกฤษเป็น

               ผู้สอนงานให้กับรุ่นน้องที่ยังไม่มีประสบการณ์  ส่วนในการจัดการความรู้โดยวิธีการเป็นพี่เลี้ยงนั้น  ด าเนินงาน

               โดยให้อาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละส่วนให้ค าปรึกษา ชี้แนะ เป็นพี่เลี้ยงให้แก่นักศึกษาในการท างาน ดัง
               แสดงไว้ในภาพประกอบ ดังนี้




                      นักศึกษารุ่นพี่ที่มีประสบการณ์ใน    Coaching           นักศึกษารุ่นน้องที่ไม่มีประสบการณ์

                       การด าเนินงานค่ายภาษาอังกฤษ                           ในการด าเนินงานค่ายภาษาอังกฤษ


                                                         Mentoring
                                                      (อาจารย์ในแต่ละฝ่าย)



                         ภาพที่ 1 รูปแบบการจัดการความรู้โดยใช้วิธีการสอนงานและการเป็นพี่เลี้ยงเพื่อฝึก


                   นักศึกษาด าเนินงานค่ายภาษาอังกฤษ

               1. การสอนงาน (Coaching)
                       การจัดการความรู้โดยวิธีการสอนงานมีวิธีในการด าเนินงานตามรูปแบบของเรนทัน (Renton, 2009)
               โดยมีวิธีการด าเนินงานดังนี้
                       1. ก าหนดหัวข้อ ตกลงในเรื่องผลลัพธ์เป้าหมายที่ต้องการ ท าความเข้าใจในวิธีการระหว่างการสร้าง
               ขบวนการการเปลี่ยนแปลง

                       ในขั้นตอนการด าเนินงานนี้ นักศึกษาที่เคยมีประสบการณ์และคณาจารย์ที่ปรึกษาค่ายภาษาอังกฤษ
               ได้แบ่งนักศึกษาออกเป็นแต่ละฝ่ายที่ต้องรับผิดชอบ และ ให้แต่ละส่วนมีหัวหน้าฝ่าย (head)  1 คน ซึ่งเป็นรุ่น
               พี่ในสาขาและมีลูกทีมเป็นรุ่นน้อง ในล าดับขั้นตอนนี้หัวหน้าฝ่ายจะต้องบอกคุณสมบัติของลูกทีมที่ฝ่ายต้องการ

               ว่าควรมีลักษณะอย่างไร ซึ่งมีทั้งสิ้นด้วยกัน 7 ฝ่าย ประกอบด้วย
                              1.1 ฝ่ายวิชาการ มีบทบาทหน้าที่ในการสอนภาษาอังกฤษ จัดกิจกรรมทางภาษา จัดเตรียม
               วัสดุอุปกรณ์สื่อการสอน ฯลฯ
   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210