Page 203 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 203
197
ค่ายภาษาอังกฤษมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ: การสอนงานและการเป็นพี่เลี้ยง
UTK English Camp: Coaching and Counseling
ปรมัตถ์ ดีแสน 1
ปลายฟ้า วงศ์ใจ 1
1
นักศึกษา สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
E-mail: boss_deesan@yahoo.com , himawariotaku@gmail.com
บทสรุป
โครงการค่ายภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ได้ด าเนินการมาแล้วทั้งสิ้น 8
ครั้ง โดยมีมีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ให้นักศึกษาน าความรู้ด้านภาษาอังกฤษไปเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อื่น 2)
พัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาอังกฤษและเจตคติของผู้เข้าร่วมโครงการ 3) เกิดทักษะในการ
แก้ปัญหาและการท างานร่วมกัน และ 4) ปลูกฝังจริยธรรมด้านจิตอาสาให้กับนักศึกษาผู้ร่วมโครงการ โดย
ด าเนินโครงการตามตามวงจรประกันคุณภาพ PDCA ซึ่งท าให้กระบวนการด าเนินงานของโครงการประสบ
ความส าเร็จเป็นอย่างดี อย่างไรก็ตามพบว่า นักศึกษาบางส่วนที่จะท าหน้าที่ต่างๆ ในการด าเนินงานค่าย
ภาษาอังกฤษทั้งฝ่ายวิทยากรและฝ่ายสนับสนุนต่างๆ ยังขาดทักษะในการท างาน ด้วยเหตุนี้ผู้ด าเนินงานจึงได้
ด าเนินการฝึกฝนนักศึกษาเหล่านั้นโดยใช้เครื่องมือการจัดการเรียนรู้ประเภท การสอนงานและการเป็นพี่เลี้ยง
มาใช้ในการฝึกฝนนักศึกษาที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการจัดค่ายภาษาอังกฤษ ด้านการสอนงานนั้นเป็นการ
ด าเนินงานโดยให้รุ่นพี่ที่มีประสบการณ์ในการจัดค่ายภาษาอังกฤษเป็นผู้สอนงานนักศึกษาที่ยังไม่มี
ประสบการณ์ ภายใต้การใช้แนะน าของอาจารย์ที่รับผิดชอบโครงการที่ท าหน้าที่เหมือนพี่เลี้ยงผลการ
ด าเนินงาน พบว่า นักศึกษาที่ได้รับการฝึกมีความพึงพอใจต่อการจัดการความรู้ด้วยวิธีการสอนงานและการ
เป็นพี่เลี้ยงในระดับมาก เป็นส่วนใหญ่ นักศึกษามีสมรรถนะการด าเนินงานค่ายภาษาอังกฤษทั้งในด้าน การ
สอนภาษาอังกฤษ ทักษะการแก้ปัญหาและการท างานร่วมกัน ภายหลังการฝึกสูงกว่าก่อนการฝึกอย่างมี
นัยส าคัญทางสถิติที่ (P < 0.01) ผลการด าเนินโครงการแสดงให้เห็นว่า การสอนงานและการเป็นพี่เลี้ยงเป็น
แนวปฏิบัติที่ดีส าหรับสถาบันการศึกษาอื่นๆเพื่อใช้ในการพัฒนานักศึกษาของตนด้านทักษะกระบวนการ
ท างานอย่างมีประสิทธิภาพ
ค าส าคัญ: ค่ายภาษาอังกฤษ การสอนงาน การเป็นพี่เลี้ยง
Summary
The UTK English Camp has been conducted for eight times with the purposes to 1)
enhance UTK students to use their English language knowledge to teach students in remote
areas; 2) develop participants’ English language skills; 3) promote UTK students’ problem-
solving and team working skills, and 4) provide UTK students opportunities to raise their
public consciousness. PDCA cycle was administered to make the project successful.
However, some UTK students who managed the project including English language trainers
and project supporters were inadequate of working skills. Consequently, KM Tools consisting